Philips 196V3LSB5/10 ユーザーズマニュアル

ページ / 38
2
1. สำ�คัญ
•  สำาคัญ: เปิดทำางานโปรแกรมสกรีนเซฟ
เวอร์ที่มีการเคลื่อนไหวเสมอ เมื่อคุณปล่อย
จอภาพทิ้งไว้โดยไม่ได้ใช้งาน เปิดทำางาน
แอปพลิเคชั่นรีเฟรชหน้าจอเป็นระยะๆ เสมอ
ถ้าจอภาพของคุณจะแสดงเนื้อหาที่เป็น
ภาพนิ่งซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลง การไม่
ขัดจังหวะการแสดงภาพนิ่งที่เปิดต่อเนื่อง
เป็นระยะเวลานาน อาจทำาให้เกิดการ  
“เบิร์นอิน” หรือที่รู้จักกันในอาการ “ภาพ
ค้าง” หรือ “ภาพโกสต์” บนหน้าจอของคุณ
อาการ “เบิร์นอิน”, “ภาพค้าง” หรือ “ภาพ
โกสต์” เป็นปรากฏการณ์ที่รู้จักกันดีใน
เทคโนโลยีจอแสดงผล LCD ส่วนมากแล้ว
อาการ “เบิร์นอิน” หรือ “ภาพค้าง” หรือ
“ภาพโกสต์” จะค่อยๆ หายไปเมื่อเวลาผ่าน
ไป หลังจากที่ปิดเครื่อง
 ��าเตือน
อาการ “เบิร์นอิน” หรือ “ภาพค้าง” หรือ “ภาพ
โกสต์” ที่รุนแรงจะไม่หายไป และไม่สามารถ
ซ่อมแซมได้ ความเสียหายที่กล่าวถึงด้านบน 
ไม่ได้รับความคุ้มครองภายใต้การรับประกันของ
คุณ
บริการ
•  ฝาปิดตัวเครื่องควรเปิดโดยช่างบริการที่มี
คุณสมบัติเท่านั้น
•  ถ้ามีความจำาเป็นต้องใช้เอกสารใดๆ สำาหรับ
การซ่อมแซม โปรดติดต่อศูนย์บริการใน
ประเทศของคุณ (โปรดดูบท “ศูนย์ข้อมูล 
ผู้บริโภค”)
•  สำาหรับข้อมูลเกี่ยวกับการขนส่ง โปรดดู
หัวข้อ “ข้อมูลจำาเพาะด้านเทคนิค”
•  อย่าทิ้งจอภาพของคุณไว้ในรถยนต์/ท้ายรถ
เมื่อจอดทิ้งไว้กลางแดด
 หมายเหตุ
ปรึกษาช่างเทคนิคบริการ ถ้าจอภาพไม่ทำางาน
เป็นปกติ หรือคุณไม่แน่ใจว่าต้องดำาเนิน
กระบวนการใดในขณะที่ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ให้
ไว้ในคู่มือฉบับนี้
1�2 ��าอธิบายของเ�รื่องหมาย
ต่างๆ
ส่วนย่อยต่อไปนี้อธิบายถึงข้อตกลงของ
เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้ในเอกสารฉบับนี้
หมายเหตุ ข้อ�วรระวัง และ��าเตือน
ตลอดคู่มือฉบับนี้ อาจมีส่วนของข้อความที่
แสดงพร้อมกับไอคอน และพิมพ์ด้วยตัวหนา
หรือตัวเอียง ส่วนของข้อความเหล่านี้ คือ
หมายเหตุ ข้อควรระวัง หรือคำาเตือน ซึ่งใช้ดัง
ต่อไปนี้:
 หมายเหตุ
ไอคอนนี้ ระบุถึงข้อมูลสำาคัญ และเทคนิคที่ช่วย
ให้คุณใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของคุณได้ดีขึ้น
 ข้อ�วรระวัง
ไอคอนนี้ระบุถึงข้อมูลที่บอกให้คุณหลีกเลี่ยง
โอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อฮาร์ดแวร์ หรือ
การสูญเสียข้อมูล
 ��าเตือน
ไอคอนนี้ระบุถึงโอกาสที่จะเกิดอันตรายต่อ
ร่างกาย และบอกวิธีการหลีกเลี่ยงปัญหา
คำาเตือนบางอย่างอาจปรากฏในรูปแบบที่ 
แตกต่าง และอาจไม่มีการแสดงไอคอนไว้ 
ควบคู่กัน ในกรณีดังกล่าว การแสดงคำาเตือน
เฉพาะจะอยู่ภายใต้การควบคุมโดยหน่วยงาน
ออกระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง