Samsung AR13MYPDAWKXST 설치 가이드

다운로드
페이지 2
คู่มือการติดตั้ง
AR✴✴MYPD✴✴
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัยใน
การติดตั้ง
โปรดเอาใจใส่ท�าตามข้อควรระวังที่แสดงรายการไว้ด้านล่างนี้ เพราะ
เป็นสิ่งส�าคัญที่สุดในการรับประกันความปลอดภัยทั้งของเครื่องปรับ
อากาศและผู้ปฏิบัติงาน
•  ปลดการเชื่อมต่อเครื่องปรับอากาศออกจากแหล่งจ่ายไฟทุกครั้ง
ก่อนท�าการซ่อมบ�ารุงหรือเข้าจัดการชิ้นส่วนภายใน 
•  ตรวจสอบว่าท�าการติดตั้งและการทดสอบโดยช่างผู้ช�านาญการ 
•  ตรวจสอบว่าเครื่องปรับอากาศไม่ได้ติดตั้งไว้ ในบริเวณที่เข้าถึง
ได้ง่าย 
ข้อมูลทั่วไป
•  ก่อนติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ให้อ่านเนื้อหาในคู่มือฉบับนี้ด้วย
ความเอาใจใส่ และเก็บคู่มือไว้ ในที่ปลอดภัย เพื่อจะได้ ใช้เป็น
ข้อมูลอ้างอิงภายหลังการติดตั้ง 
•  เพื่อความปลอดภัยสูงสุด ผู้ติดตั้งควรอ่านค�าเตือนต่อไปนี้ให้
ละเอียด 
•  เก็บคู่มือการใช้งานและวิธีการติดตั้งไว้ ในสถานที่ปลอดภัย และ
อย่าลืมส่งมอบให้เจ้าของคนใหม่หากมีการขายหรือโอนเครื่อง
ปรับอากาศ 
•  คู่มือฉบับนี้ใช้ชุดคอยล์ SAMSUNG สองชุดในการอธิบายวิธีติด
ตั้งชุดปรับอากาศแบบแยกส่วน การใช้ชุดคอยล์ประเภทอื่นที่มี
ระบบการควบคุมแตกต่างออกไปอาจท�าให้ชุดคอยล์เสียหาย ส่ง
ผลให้การรับประกันเป็นโมฆะได้ ผู้ผลิตจะไม่รับผิดชอบต่อความ
เสียหายที่เกิดขึ้นจากการใช้ชุดคอยล์ที่เข้ากันไม่ได้ 
•  เครื่องปรับอากาศนี้เป็นไปตามข้อก�าหนดของสหภาพยุโรปเกี่ยว
กับแรงดันไฟฟ้าต�่า (2006/95/EC) และค�าสั่งเกี่ยวกับ EMC (EMC 
Directive) (2004/108/EC)
•  ผู้ผลิตจะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้รับอนุญาตหรือการเชื่อมต่อกระแสไฟฟ้าที่
ไม่เหมาะสม และในกรณีเช่น
นี้
 ข้อก�าหนดที่ชี้แจงไว้ ในตาราง “ขีด
ความสามารถในการท�างาน” ซึ่งรวมอยู่ในคู่มือฉบับนี้นั้น จะท�าให้
การรับประกันเป็นโมฆะในทันที 
•  ควรใช้เครื่องปรับอากาศเฉพาะกับงานที่สอดคล้องกับการ
ออกแบบของเครื่องเท่านั้น: ชุดปรับอากาศไม่เหมาะที่จะติดตั้ง
ในบริเวณที่ใช้ซักผ้า 
•  ห้ามใช้เครื่องขณะที่เครื่องช�ารุดเสียหาย หากมีปัญหาเกิดขึ้น ให้
ปิดสวิตช์ชุดปรับอากาศ และปลดการเชื่อมต่อชุดปรับอากาศออก
จากแหล่งจ่ายไฟ
•  ทุกครั้งที่เครื่องมีควัน สายไฟร้อนหรือเสียหาย หรือเครื่องมีเสียง
ดังมาก ให้ปิดเครื่อง ปิดใช้งานสวิตช์ป้องกัน และติดต่อหน่วย
งานสนับสนุนทางเทคนิคของ SAMSUNG เพื่อเป็นการป้องกันไฟ
ฟ้าช็อต ไฟไหม้ หรือการบาดเจ็บ 
•  โปรดจ�าไว้เสมอว่าต้องตรวจสอบเครื่อง จุดต่อกระแสไฟฟ้า ท่อ
สารท�าความเย็น และการป้องกันอย่างสม�่าเสมอ การด�าเนินงาน
เหล่านี้ควรท�าโดยช่างผู้ช�านาญการเท่านั้น 
•  เครื่องปรับอากาศมีชิ้นส่วนที่หมุนได้ จึงควรติดตั้งไว้ ในที่ที่เด็ก
เอื้อมไม่ถึง 
•  ห้ามพยายามซ่อม เคลื่อนย้าย ปรับเปลี่ยน หรือติดตั้งเครื่องใหม่ 
การด�าเนินการเหล่านี้อาจก่อให้เกิดไฟฟ้าช็อตหรือไฟไหม้ ได้ 
หากกระท�าโดยบุคคลที่ไม่ได้รับอนุญาต 
•  ห้ามวางภาชนะบรรจุของเหลวหรือวัตถุอื่นๆ บนตัวเครื่อง 
•  วัสดุทั้งหมดที่ใช้ ในการผลิตและการบรรจุหีบห่อของเครื่องปรับ
อากาศนี้สามารถน�ามารีไซเคิลได้ 
•  วัสดุห่อหุ้มและแบตเตอรี่ที่ใช้หมดแล้วของรีโมทคอนโทรล (เลือก
ได้) จะต้องก�าจัดทิ้งตามกฎหมายปัจจุบัน 
•  เครื่องปรับอากาศมีสารท�าความเย็นที่ต้องก�าจัดทิ้งในฐานะขยะ
พิเศษ เมื่อเครื่องปรับอากาศหมดอายุการใช้งานต้องน�าไปก�าจัด
ทิ้งที่ศูนย์ที่ได้รับอนุญาตหรือส่งกลับไปยังผู้จัดจ�าหน่ายเพื่อการ
ก�าจัดทิ้งอย่างถูกต้องและปลอดภัย
การติดตั้งผลิตภัณฑ์
•  สิ่งส�าคัญ เมื่อติดตั้งเครื่อง โปรดจ�าไว้เสมอว่าต้องต่อท่อสาร
ท�าความเย็นก่อน แล้วจึงต่อสายไฟ ถอดสายไฟฟ้าออกก่อนถอด
ท่อสารท�าความเย็นเสมอ 
•  เมื่อได้รับมอบเครื่องแล้ว ให้ตรวจสอบยืนยันว่า เครื่องไม่ได้รับ
ความเสียหายในระหว่างการขนส่ง หากปรากฏว่าเครื่องเสียหาย 
อย่าติดตั้งเครื่องแล้วรายงานความเสียหายให้ผู้ขนส่งหรือผู้จัด
จ�าหน่ายทราบในทันที (หากผู้ติดตั้งหรือช่างที่ได้รับอนุญาตได้น�า
วัสดุจากผู้จัดจ�าหน่ายมาใช้) 
•  หลังจากติดตั้งเสร็จแล้ว ให้ท�าการทดสอบการท�างาน และให้ค�า
แนะน�าเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องปรับอากาศแก่ผู้ ใช้เสมอ
•  อย่าใช้เครื่องปรับอากาศในสภาพแวดล้อมที่มีสารอันตรายหรือ
ใกล้กับอุปกรณ์ที่มีเปลวไฟอิสระ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟไหม้ 
ระเบิด หรือการบาดเจ็บ 
•  ต้องติดตั้งเครื่องให้สอดคล้องกับพื้นที่ว่างที่ระบุไว้ ในคู่มือการ
ติดตั้ง เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถเข้าถึงได้จากด้านข้างทั้งสอง หรือ
สามารถด�าเนินการบ�ารุงรักษาและซ่อมแซมเป็นประจ�าได้ ส่วน
ประกอบของเครื่องต้องสามารถเข้าถึงได้ และต้องสามารถถอด
แยกชิ้นส่วนได้ ในสภาพที่ปลอดภัยเต็มที่ทั้งต่อผู้คนหรือสิ่งของ 
ด้วยเหตุนี้ ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามค�าแนะน�าที่ระบุไว้ ในคู่มือการ
ติดตั้ง ค่าใช้จ่ายที่จ�าเป็นในการเข้าถึงและซ่อมแซมเครื่อง (ใน
สภาพปลอดภัยตามที่ก�าหนดโดยข้อบังคับที่มีผลบังคับใช้ ใน
ปัจจุบัน) โดยใช้ลวดสลิง รถบรรทุก นั่งร้าน หรือวิธีการยกให้สูงขึ้น
อื่นใด จะไม่ได้รับการพิจารณาว่าอยู่ในเงื่อนไขการรับประกันและ
จะไม่คิดค่าใช้จ่ายกับทางผู้บริโภค
•  ควรติดตั้งชุดระบายความร้อนในพื้นที่เปิดซึ่งถ่ายเทอากาศได้ดี
•  ควรปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับท้องถิ่นว่าด้วยแก๊ส
•  ในการจัดการ ถ่ายและก�าจัดสารท�าความเย็นทิ้งหรือเจาะวงจร
ท�าความเย็น ผู้ปฏิบัติงานควรมีใบรับรองคุณวุฒิจากหน่วยงานที่
ได้มาตรฐานอุตสาหกรรม
•  ห้ามติดตั้งชุดปรับอากาศในบริเวณดังต่อไปนี้
 
บริเวณที่มีแร่ธาตุปะปนอยู่ มีน�้ามันลอยฟุ้งในอากาศ หรือ
มีไอน�้า มิฉะนั้นอาจท�าให้ชิ้นส่วนพลาสติกผุกร่อนจนอาจ
ท�าให้เครื่องไม่ท�างานหรือเกิดการรั่วไหลได้
 
บริเวณที่ใกล้ชิดกับแหล่งความร้อน
 
บริเวณที่มีสารต่างๆ เช่น แก๊สก�ามะถัน แก๊สคลอรีน กรด 
และด่าง มิฉะนั้นอาจท�าให้ท่อและข้อต่อทองเหลืองสึก
กร่อนได้
 
บริเวณที่อาจท�าให้เกิดการรั่วไหลของแก๊สไวไฟและท�าให้
เส้นใยคาร์บอนแขวนลอย ละอองลอยไวไฟ หรือสายระเหย
ไวไฟ
 
บริเวณที่มีสารท�าความเย็นรั่วไหลออกมาและสะสมอยู่
 
บริเวณที่สัตว์ต่างๆ อาจปล่อยของเสียออกมาเลอะเครื่อง
เนื่องจากจะมีแอมโมเนียปล่อยออกมาด้วย
•  ห้ามใช้ชุดปรับอากาศเพื่อเก็บรักษาอาหาร พืช เครื่องมือ และงาน
ศิลปะต่างๆมิฉะนั้นอาจท�าให้วัตถุดังกล่าวด้อยคุณภาพได้
•  ห้ามติดตั้งชุดปรับอากาศหากการระบายน�้ามีปัญหา
•  เมื่อติดตั้งชุดระบายอากาศบริเวณชายทะเล ให้แน่ใจว่าเครื่องจะ
ไม่โดนลมทะเลโดยตรง หากไม่สามารถหาสถานที่ซึ่งปราศจาก
ลมทะเลพัดโดนโดยตรงได้ ควรสร้างก�าแพงหรือแนวป้องกัน
 
ติดตั้งชุดระบายความร้อนในสถานที่ซึ่งไม่มีลมทะเลพัดโดน 
(เช่น ใกล้อาคาร เป็นต้น) มิฉะนั้นอาจท�าให้ชุดระบายความร้อน
ช�ารุดเสียหายได้
ทะเล
ลมทะเล
ชุดระบายความร้อน
ชุดระบายความร้อน
ลมทะเล
ทะเล
•  หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงการติดตั้งชุดระบายความร้อนใกล้กับ
ชายทะเลได้ ควรสร้างก�าแพงป้องกันล้อมรอบเพื่อกั้นไม่ให้ โดน
ลมทะเล
•  ควรสร้างก�าแพงป้องกันด้วยวัสดุทึบแข็งเพื่อกั้นไม่ให้ โดนลมทะเล 
เช่น คอนกรีต ให้แน่ใจว่าความสูงและความกว้างของก�าแพงควร
มากกว่าขนาดของชุดระบายความร้อน 1.5 เท่า นอกจากนี้ ควรเว้น
ระยะห่างมากกว่า 600 มม. ระหว่างก�าแพงป้องกันและชุดระบาย
ความร้อน เพื่อถ่ายเทอากาศเสีย
ทะเล
ลมทะเล
ชุดระบายความร้อน
กำแพงป้องกัน
ชุดระบายความร้อน
กำแพงป้องกัน
•  ติดตั้งเครื่องในสถานที่ซึ่งสามารถระบายน�้าทิ้งได้ โดยสะดวก
•  หากไม่มีสถานที่ติดตั้งตามที่ก�าหนดไว้ข้างต้น ควรติดต่อขอราย
ละเอียดเพิ่มเติมจากผู้ผลิต
•  ควรเช็ดน�้าทะเลและฝุ่นละอองที่เกาะอยู่บนอุปกรณ์แลกเปลี่ยน
ความร้อนของชุดระบายความร้อน พร้อมทั้งทาน�้ายากันสนิมบน
ชุดระบายความร้อน (อย่างน้อยปีละครั้ง)
การติดตั้งชุดระบายความร้อน
•  ในขณะที่ติดตั้งหรือย้ายต�าแหน่งติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ห้าม
ให้สารท�าความเย็น ผสมกับอากาศหรือแก๊สอื่นหรือสารท�าความ
เย็นที่ไม่ระบุ มิฉะนั้นความดันอาจเพิ่มขึ้นจนท�าให้เกิดการแตกหัก
หรือเกิดการบาดเจ็บได้
•  ห้ามตัดหรือเผาภาชนะบรรจุสารท�าความเย็นหรือท่อต่างๆ
•  ควรใช้ชิ้นส่วนที่มีความสะอาดกับสารท�าความเย็นดังกล่าว เช่น เม
นิโฟลด์เกจ ปั๊มสุญญากาศ และท่อเติมน�้ายา
•  เพื่อควบคุมสารท�าความเย็น การติดตั้งจึงต้องด�าเนินการโดย
ช่างผู้ช�านาญการนอกจากนี้ควรปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับและ
กฎหมาย
•  ควรระมัดระวังไม่ให้สารแปลกปลอมเข้าไปในท่อ (น�้ามันหล่อลื่น 
สารท�าความเย็น น�้า เป็นต้น)การใช้น�้ามันหรือสารท�าความเย็นอาจ
ท�าให้ท่อต่างๆ ผุกร่อนจนท�าให้การระบายน�้ารั่วไหลได้ ในการจัด
เก็บ ควรปิดช่องต่างๆ ให้แน่น
•  หากจ�าเป็นต้องมีการถ่ายเทอากาศโดยอาศัยเครื่องมือ ไม่ควรให้มี
สิ่งใดมากีดขวางช่องถ่ายเทอากาศ
•  ในการทิ้งเครื่องปรับอากาศ ควรปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับหรือ
กฎหมายท้องถิ่น
•  ห้ามปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศ
•  ควรกั้นพื้นที่ปฏิบัติงานให้ชัดเจน
•  ควรติดตั้งท่อสารท�าความเย็นในต�าแหน่งที่ไม่มีสารซึ่งก่อให้เกิด
การผุกร่อน
•  ควรด�าเนินการตรวจสอบดังต่อไปนี้ส�าหรับการติดตั้ง:
 
ปริมาณสารท�าความเย็นที่เติมเข้าไปจะขึ้นอยู่กับขนาด
ของห้อง
 
อุปกรณ์ที่ใช้ ในการถ่ายเทอากาศและช่องระบายต่างๆ ควร
ท�างานได้ตามปกติและไม่มีสิ่งใดปิดกั้น
 
เครื่องหมายและสัญลักษณ์ที่อยู่บนอุปกรณ์ต่างๆ ควรมอง
เห็นและอ่านได้อย่างชัดเจน
•  หากสารท�าความเย็นรั่วไหล ให้ถ่ายอากาศภายในห้องสารท�าความ
เย็นที่รั่วไฟลออกมาสัมผัสกับเปลวไฟ อาจจะท�าให้เกิดแก๊สพิษได้
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าพื้นที่ปฏิบัติงานปราศจากสารไวไฟ
•  ในการถ่ายอากาศในสารท�าความเย็นออก ควรใช้ปั๊มสุญญากาศ
•  พึงระวังเนื่องจากสารท�าความเย็นไม่มีกลิ่น
•  เครื่องปรับอากาศไม่มีคุณสมบัติในการป้องกันการระเบิด ดังนั้น
ต้องติดตั้งเครื่องโดยไม่ให้มีความเสี่ยงจากการระเบิดเกิดขึ้น
•  เครื่องปรับอากาศนี้มีแก๊สฟลูออริเนตซึ่งท�าให้เกิดปรากฏการณ์
เรือนกระจกของโลกดังนั้น จึงห้ามระบายแก๊สเข้าสู่บรรยากาศ
•  เนื่องจากความดันในการท�างานของ R-32 จะมีค่าสูงกว่า R22 ถึง 
1.6 เท่า ดังนั้นควรใช้ท่อเฉพาะและใช้เครื่องมือตามที่ก�าหนดไว้ ใน
กรณีที่ใช้รุ่น R-32 แทน R22 ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้เปลี่ยนท่อ
และนอตข้อต่อทั่วไปเป็นรุ่นเฉพาะส�าหรับ R-32 แล้ว
•  รุ่นที่ใช้น�้ายา R-32 จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางยอดเกลียวของช่องเติม
สารท�าความเย็นที่แตกต่างออกไป ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้การเติม
สารท�าความเย็นผิดประเภทดังนั้น ควรตรวจสอบเส้นผ่านศูนย
กลาง (1/2 นิ้ว) ก่อนเสมอ
•  การซ่อมบ�ารุงควรด�าเนินการตามที่ผู้ผลิตแนะน�าในกรณีที่มีช่าง
ช�านาญการอื่นร่วมด�าเนินการซ่อมบ�ารุงด้วย การด�าเนินการควร
อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้ที่ความรู้ ในการจัดการกับสาร
ท�าความเย็นชนิดไวไฟ
•  ในการซ่อมบ�ารุงเครื่องปรับอากาศที่มีสารท�าความเย็นชนิดไวไฟ 
จ�าเป็นต้องตรวจสอบความปลอดภัย ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงใน
การติดไฟให้เหลือน้อยที่สุด
•  การซ่อมบ�ารุงควรด�าเนินการตามขั้นตอนที่จ�าเป็นต้องควบคุมดัง
ต่อนี้ ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงของสารท�าความเย็นหรือแก๊สชนิด
ไวไฟให้เหลือน้อยที่สุด
•  ห้ามติดตั้งหากมีความเสี่ยงจากการรั่วไหลของแก๊สติดไฟ
•  ห้ามวางสิ่งที่ท�าให้เกิดความร้อน
•  ควรระมัดระวังไม่ให้เกิดประกายไฟดังนี้:
 
ห้ามถอดฟิวส์ออกขณะที่เปิดไฟ
 
ห้ามถอดปลั๊กไฟออกจากเต้ารับขณะที่เปิดเครื่องอยู่
 
ควรวางต�าแหน่งช่องระบายไว้ ให้สูงวางสายไฟโดยไม่ให้
ม้วนพันกัน
•  หากชุดปรับอากาศไม่สามารถใช้กับสารท�าความเย็น R-32 ได้ จะมี
สัญญาณแสดงข้อผิดพลาดปรากฏขึ้นมา และเครื่องจะไม่ท�างาน
•   หลังจากติดตั้งแล้ว ควรตรวจสอบหาการรั่วไหลแก๊สพิษอาจเกิด
ขึ้น และหากแก๊สดังกล่าวสัมผัสกับแหล่งก�าเนิดเปลวไฟ เช่น 
เครื่องท�าความร้อนชนิดพัดลม เตาไฟ และเตาปรุงอาหาร ควร
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าใช้เฉพาะถังดูดเก็บสารท�าความเย็นเท่านั้น
การจัดเตรียมถังดับเพลิง
•   หากมีการปฏิบัติงานที่ให้ความร้อน ควรจัดเตรียมอุปกรณ์ดับ
เพลิงที่เหมาะสมไว้ด้วย
•  ควรติดตั้งถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้งหรือ CO2 ไว้ ใกล้กับบริเวณ
ที่ท�าการถ่ายน�้ายา
ไม่มีแหล่งก�าเนิดเปลวไฟ
•  วิศวกรบริกาไม่ควรใช้แหล่งก�าเนิดเปลวไฟซึ่งมีความเสี่ยงต่อการ
เกิดไฟไหม้หรือเกิดการระเบิด
•  ควรน�าแหล่งก�าเนิดเปลวไฟออกไปให้ห่างจากพื้นที่ปฏิบัติงาน ซึ่ง
อาจมีสารท�าความเย็นชนิดไวไฟถูกปล่อยออกมาโดยรอบ
•  ควรตรวจสอบพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อให้แน่ใจว่าจะไม่มีอันตราย
จากสารไวไฟหรือเกิดความเสี่ยงจากการลุกไหม้ควรติดป้าย “ห้าม
สูบบุหรี่”
•  ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตาม ไม่ควรท�าให้เกิดเปลวไฟในขณะตรวจสอบ
หาการรั่วของสารท�าความเย็น
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าผนึกหรือวัสดุที่ใช้ผนึกไม่เสื่อมคุณภาพ
•  ชิ้นส่วนนิรภัยเป็นอุปกรณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้งานได้หาก
อยู่ในสภาวะที่อาจเกิดไฟลุกไหม้ชิ้นส่วนอื่นๆ อาจท�าให้ติดไฟหาก
เกิดการรั่วไหล
การถ่ายเทอากาศในพื้นที่
•  ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ถ่ายเทอากาศในพื้นที่ปฏิบัติงานไว้
เรียบร้อยแล้วก่อนที่จะปฏิบัติงานที่ใช้ความร้อน
•  แม้ว่าจะปฏิบัติงานอยู่ ก็ควรท�าการถ่ายเทอากาศด้วยเช่นกัน
•  การถ่ายเทอากาศควรแพร่กระจายแก๊สที่ถูกปล่อยออกมาได้อย่าง
ปลอดภัยและระบายสู่บรรยากาศได้อย่างเหมาะสม
•  แม้ว่าจะปฏิบัติงานอยู่ ก็ควรท�าการถ่ายเทอากาศด้วยเช่นกัน
วิธีการตรวจสอบการรั่วไหล
•  ควรสอบเทียบมาตรฐานของอุปกรณ์ตรวจจับการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็นในบริเวณที่ไม่มีสารท�าความเย็นปรากฏอยู่
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ตรวจจับดังกล่าวไม่ใช่แหล่ง
ก�าเนิดเปลวไฟ
•  ควรตั้งค่าอุปกรณ์ตรวจจับการรั่วไหลของสารท�าความเย็นให้เป็น 
LFL (ขีดจ�ากัดความไวไฟ)
•  ในการท�าความสะอาด ไม่ควรใช้น�้ายาท�าความสะอาดที่ส่วนผสม
ของคลอรีน เพราะคลอรีนอาจเกิดปฏิกิริยากับสารท�าความเย็น 
และกัดกร่อนท่อต่างๆ ได้
•  หากสงสัยว่ามีการรั่วไหลเกิดขึ้น ควรน�าเปลวไปออกไปให้ห่าง
•  หากพบว่ามีการรั่วไหลขณะที่ท�าการบัดกรี ควรกู้สารท�าความเย็น
ทั้งหมดจากผลิตภัณฑ์ หรือแยกออกไว้ต่างหาก (ตัวอย่างเช่น 
ใช้วาล์วหยุดระบบ)ไม่ควรปล่อยเข้าสู่บรรยากาศโดยตรงควรใช้
ไนโตรเจนบริสุทธิ์ (OFN) ไล่อากาศออกจากระบบทั้งก่อนและหลัง
จากขั้นตอนการบัดกรี
•  ควรตรววจสอบพื้นที่ปฏิบัติงานโดยใช้อุปกรณ์ตรวจจับสาร
ท�าความเย็นที่เหมาะสมทั้งก่อนและในระหว่างการปฏิบัติงาน
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ตรวจจับการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็นเหมาะสมส�าหรับการใช้งานกับสารท�าความเย็น
ชนิดไวไฟ
การติดป้ายบ่งชี้
•  ควรปิดป้ายบ่งชี้ชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อให้แน่ใจว่าได้ยกเลิกการใช้งาน
ชิ้นส่วนนั้นๆ แล้วและไม่มีสารท�าความเย็นหลงเหลืออยู่
•  ป้ายบ่งชี้ดังกล่าวควรบันทึกวันที่ก�ากับไว้
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ปิดป้ายบ่งชี้ดังกล่าวไว้บนระบบแล้ว 
ทั้งนี้เพื่อเตือนให้ทราบว่าระบบดังกล่าวใช้สารท�าความเย็นชนิด
ไวไฟ
การกู้คืน
•  หากน�าสารท�าความเย็นออกมาจากระบบเพื่อท�าการซ่อมบ�ารุง
หรือยกเลิกการใช้งาน ควรน�าสารท�าความเย็นออกมาให้หมด
•  หากถ่ายโอนสารท�าความเย็นเข้าสู่ถังบรรจุ ควรตรวจสอบให้แน่ใจ
ว่าใช้เฉพาะถังกู้สารท�าความเย็นเท่านั้น
•  ควรปิดป้ายบ่งชี้ถังทั้งหมดที่ใช้ ในการกู้สารท�าความเย็น
•  ควรติดตั้งวาล์วลดแรงดันและวาล์วหยุดระบบเข้ากับถังดังกล่าว
ตามล�าดับที่ถูกต้อง
•  ควรสูบถ่ายถังเปล่าที่ใช้ถ่ายสารท�าความเย็นให้สะอาด แล้วท�าให้
ถังเย็นลงก่อนที่จะท�าการกู้สารท�าความเย็น
•  ระบบการสูบถ่ายสารท�าความเย็นจะท�างานเป็นปกติตามขั้นตอน
ที่ก�าหนด และระบบดังกล่าวควรมีความเหมาะสมต่อการสูบถ่าย
สารท�าความเย็น
•  นอกจากนี้ ควรท�าการสอบเทียบมาตราส่วนตามปกติ
•  สายยางต่างๆ ควรติดตั้งด้วยข้อต่อที่ไม่มีรอยรั่ว
•  ก่อนเริ่มการสูบถ่าย ควรตรวจสอบสถานะของระบบการสูบถ่าย
และสภาพการซีลก่อนหากมีข้อสงสัย ควรขอค�าปรึกษาจากผู้
ผลิต 
•  ควรส่งสารท�าความเย็นที่สูบถ่ายออกมาคืนไปยังผู้จัดจ�าหน่าย
โดยบรรจุไว้ ในถังสูบถ่ายที่อยูในสภาพดีพร้อมแนบเอกสารแจ้ง
เตือนการขนถ่ายกากของเสีย (Waste Transfer Note) ให้ชัดเจน
•  ห้ามน�าสารท�าความเย็นไปผสมกันในชุดสูบถ่ายสารท�าความเย็น
หรือถังเก็บ
•  หากถอดคอมเพรสเซอร์หรือน�าน�้ามันคอมเพรสเซอร์ออกมา ควร
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ระบายสารท�าความเย็นออกมาจนถึงระดับ
ที่ปลอดภัยแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีสารท�าความเย็นชนิดไวไฟ
หลงเหลืออยู่ในสารหล่อลื่นดังกล่าว
•  ควรท�าการระบายสารท�าความเย็นให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่ง
คอมเพรสเซอร์ไปยังผู้จัดจ�าหน่าย
•  ในการด�าเนินการตามขั้นตอนดังกล่าว ควรใช้เฉพาะการท�าความ
ร้อนด้วยไฟฟ้ากับตัวคอมเพรสเซอร์เท่านั้น
•  ควรระบายน�้ามันออกจากระบบให้เรียบร้อย
•  ในการติดตั้งโดยใช้สารท�าความเย็น (R-32) ควรใช้เครื่องมือและ
อุปกรณ์ท่อเฉพาะส�าหรับสารท�าความเย็นดังกล่าวเท่านั้น
•  เนื่องจากความดันของสารท�าความเย็น R-32 จะสูงกว่าความดัน
ของ R-22 ประมาณ 1.6 เท่า หากไม่ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ท่อ
เฉพาะดังกล่าว อาจ�าให้เกิดการแตกหักหรือเกิดการบาดเจ็บได้
นอกจากนี้ อาจท�าให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ เช่น น�้ารั่วไหล ไฟฟ้า
ดูด หรือไฟไหม้
•  ห้ามติดตั้งอุปกรณ์ที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์โดยเด็ดขาด ทั้งนี้
เพื่อป้องกันการติดไฟ
สายไฟจากแหล่งจ่ายไฟ ฟิวส์ หรือเครื่องตัด
กระแสไฟฟ้า
•  ตรวจสอบให้แน่ใจทุกครั้งว่าแหล่งจ่ายไฟเป็นไปตามมาตรฐาน
ความปลอดภัยในปัจจุบัน ติดตั้งเครื่องปรับอากาศให้เป็นไปตาม
มาตรฐานความปลอดภัยในท้องถิ่นปัจจุบันเสมอ 
•  ตรวจสอบเสมอว่ามีการต่อสายดินไว้อย่างเหมาะสม 
•  ตรวจสอบว่าแรงดันไฟฟ้าและความถี่ของแหล่งจ่ายไฟเป็นไป
ตามข้อก�าหนด รวมทั้งตรวจสอบว่าก�าลังไฟฟ้าที่ติดตั้งนั้นเพียง
พอที่จะรับประกันการท�างานของเครื่องใช้ ไฟฟ้าภายในบ้านอื่นๆ 
ที่ต่อกับสายไฟฟ้าเส้นเดียวกันได้ 
•  ตรวจสอบทุกครั้งว่าสวิตช์ตัดวงจรไฟฟ้าและสวิตช์ป้องกันมีการ
ระบุขนาดรูปร่างอย่างเหมาะสม 
•  ตรวจสอบว่าเครื่องปรับอากาศต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟตามค�า
แนะน�าที่ให้ ไว้ ในแผนภาพการเดินสายไฟภายในคู่มือ 
•  ตรวจสอบเสมอว่าจุดต่อกระแสไฟฟ้า (ทางเข้าสายไฟ ส่วนของ
สายน�าไฟฟ้า การป้องกัน...) จะต้องสอดคล้องกับข้อก�าหนดทาง
ไฟฟ้าและค�าแนะน�าที่ให้ ไว้ ในแบบแผนการเดินสายไฟ ตรวจ
สอบให้แน่ใจทุกครั้งว่าแหล่งจ่ายไฟเป็นไปตามมาตรฐานความ
ปลอดภัยในปัจจุบัน
•  อย่าท�าการปรับแต่งสายไฟ ต่อสายไฟเพื่อเพิ่มความยาว หรือพ่วง
สายไฟหลายสายเข้าด้วยกัน
 
อาจท�าให้ ไฟฟ้าช็อตหรือเกิดเพลิงไหม้เนื่องจากเชื่อมสาย
ไฟหรือหุ้มสายไฟไม่ดี หรือเกิดการใช้ ไฟเกินขนาด
 
หากจ�าเป็นต้องมีการต่อสายไฟเพื่อเพิ่มความยาวเพราะ
ความเสียหายต่อสายไฟ ดูที่ "ขั้นที่ 2.4 เลือกได้:การต่อ
ความยาวสายไฟ" ในคู่มือการติดตั้ง
การเตรียมความพร้อม
ขั้นตอนที่ 1.1  การเลือกสถานที่ติดตั้ง
ภาพรวมของข้อก�าหนดเกี่ยวกับสถานที่ติดตั้ง
อุปกรณ์ภายนอก
มากกว่าหรือเท่ากับ 100 มม.
อุปกรณ์ภายใน
ตัดฉนวนออกเพือระบายนำฝน
ผนังด้านนอก
ช่องของท่อระบายนำทิง
สามารถเลือกทิศทางการระบายนำ
ทิงได้ (ซ้ายหรือขวา) 
ความสูงของท่อมากทีสุด: 15 เมตร
ความยาวของท่อมากทีสุด: 30 เมตร
มากกว่า
หรือเท่ากับ 
125 มม.
เครืองปรับอากาศของคุณอาจแตกต่างจากภาพ
ประกอบทีแสดงไว้
ท่อพักนำให้เป็นรูปตัว U (A) 
(ท่อทีต่อเข้ากับชุดปรับอากาศ) 
ตรงกำแพงด้านนอก 
แล้วตัดฉนวนด้านล่างออก 
(ประมาณ 10 มม.) 
เพือป้องกันไม่ให้นำฝนซึมเข้าไป
ในฉนวน
พันรอบอย่างน้อย 1 ชัน 
เพือลดเสียงและการสันสะเทือน
คำเตือน
มากกว่า
หรือเท่ากับ 
125 มม.
  ระวัง
•  ขีดจ�ากัดความยาวและความสูงต้องเป็นไปตามที่ได้อธิบายไว้
ข้างต้น
•  ส�าหรับเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�าความเย็น R-32 ควรติดตั้งชุด
ปรับอากาศบนผนังโดยให้มีความสูงเหนือจากพื้น 1.8 ม. ขึ้นไป
 
 (หน่วย : เมตร)
รุ่น
ความยาวของท่อ
ความสูงของท่อ
น้อยที่สุด
มากที่สุด
มากที่สุด
✴✴
10/13✴✴
3
15
8
✴✴
18/24✴✴
3
30
15
ช่องว่างแคบที่สุดส�าหรับชุดระบายความร้อน
ก�าแพง
ช่องว่างแคบที่สุด หน่วยเป็น มม.
300
600
ทิศทางลม
ด้านข้าง
ด้านบน
เมื่อติดตั้งชุดระบายความร้อน 1 ชุด                                            (6 ลักษณะ)
(หน่วย: มม.)
300
1500 
300
150
600
1500
2000 
500 
300 
300
 
1500
เมื่อติดตั้งชุดระบายความร้อนมากกว่า 1 ชุด                           (5 ลักษณะ)
(หน่วย: มม.)
1500
600
3000
200
3000
300
1500
600
600
1500
300
300
600
600
600
(หน่วย: มม.)
500 
300
500
300
  ระวัง
•  หากติดตั้งชุดระบายความร้อนในช่องว่างที่กว้างไม่พอ อาจมีเสียง
ดังเกิดขึ้นและมีผลต่อเครื่องปรับอากาศโดยรวมได้
•  ควรติดตั้งชุดระบายความร้อนบนพื้นเรียบที่ได้ระดับซึ่งท�าให้แรง
สั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นไม่มีผลกระทบต่อเครื่องปรับอากาศโดยรวม
ขั้นตอนที่ 1.2 การแกะบรรจุภัณฑ์
การแกะบรรจุภัณฑ์เพื่อน�าชุดปรับอากาศออกมา
1  เปิดบรรจุภัณฑ์ของชุดปรับอากาศ 
2  น�าแผ่นรองด้านซ้ายและขวาออกมา 
3  ดึงชุดปรับอากาศออกมาจากบรรจุภัณฑ์ 
การแกะบรรจุภัณฑ์เพื่อน�าชุดระบายความร้อนออกมา
1  น�าบรรจุภัณฑ์ออก 
2  น�าแผ่นรองด้านบนออกมา 
3  ดึงชุดระบายความร้อนออกมาจากแผ่นรองด้านล่าง 
ขั้นตอนที่ 1.3  การตรวจสอบและการจัด
เตรียมอุปกรณ์เสริมและเครื่องมือ
อุปกรณ์เสริม
อุปกรณ์เสริมในบรรจุภัณฑ์ของชุดปรับอากาศ
แผ่นติดตั้ง (1)
✴✴
10/13✴✴
แผ่นติดตั้ง (1)
✴✴
18/24✴✴
แบตเตอรี่รีโมท (2)
รีโมทคอนโทรล (1)
ที่แขวนรีโมทคอนโทรล (1)
คู่มือการใช้งาน (1)
คู่มือการติดตั้ง (1)
ตะปูเกลียว M4 x 12 (2)
ฝาครอบสกรู (2)
ส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องปรับอากาศ
ท่อส�าหรับติดตั้ง 
Ø 6.35 มม.(1)
ท่อส�าหรับติดตั้ง 
Ø 9.52 มม. (1) 
✴✴
10/13✴✴
ท่อส�าหรับติดตั้ง 
Ø 12.7 มม. (1) 
✴✴
18✴✴
ท่อส�าหรับติดตั้ง 
Ø 15.88 มม. (1) 
✴✴
24✴✴
ท่อระบายน�้าทิ้ง  ยาว 2 
เมตร (1)
ตัวยึดท่อ A (3)
ตัวยึดท่อ B (3) 
เทปไวนิล (2)
PE T3 แผ่นฉนวนโฟม (1)
ดินน�้ามัน 100 กรัม (1) 
จุกระบายน�้าทิ้ง (1)
ตะปูเกลียว M4 x 25 (6)
ตะปูซีเมนต์ (6)
สายไฟแบบ 3 สาย ส�าหรับจ่ายไฟ(1)
สายไฟแบบ 3 สาย ส�าหรับ
ติดตั้ง (1) 
สายไฟแบบ 2 สาย ส�าหรับ
ติดตั้ง (1)  
อุปกรณ์เสริมในบรรจุภัณฑ์ของชุดระบายความร้อน
ขายาง (4)
  หมายเหตุ
•  หัวต่อทองเหลืองที่ติดอยู่ที่ปลายท่อแต่ละข้างของคอยล์เย็นหรือ
วาล์วสารท�าความเย็น ใช้ขันเมื่อท�าการต่อน็อตในการเชื่อมต่อท่อ
•  สายไฟมีแถมให้เฉพาะกับบางรุ่น หากไม่มีมาในกล่อง ให้ ใช้สาย
ไฟมาตรฐานเท่านั้น
•  ขายางและจุกระบายน�้าทิ้งตามรูปจะมีให้ ในกล่องชุดระบาย
ความร้อนเฉพาะเครื่องปรับอากาศที่ไม่ได้แถมท่อทองแดง
ส�าหรับเชื่อมต่อ 
•  หากอุปกรณ์เสริมดังกล่าวแถมมาให้ จะอยู่ในกล่องอุปกรณ์เสริม
หรืออยู่ในบรรจุภัณฑ์ของชุดระบายความร้อน
เครื่องมือ 
เครื่องมือทั่วไป
•  ปั๊มสุญญากาศ  
(ป้องกันการไหลย้อนกลับ)
•  ชุดเกจวัดแรงดันสาร
ท�าความเย็น
•  อุปกรณ์ส�าหรับค้นหา
สลักเกลียวไม่มีหัว
•  ประแจทอร์ค
•  เครื่องตัดท่อ
•  เครื่องมือคว้านท่อทองแดง
•  เครื่องดัดท่อ
•  เครื่องวัดระดับ
•  ไขควง
•  ประแจเลื่อน
•  สว่าน
•  ประแจหกเหลี่ยมรูปตัวแอล
•  เทปวัดระยะทาง
เครื่องมือใช้ทดสอบ
•  เครื่องวัดอุณหภูมิ
•  เครื่องวัดความต้านทาน
•  เครื่องตรวจวัดไฟฟ้าสถิต
ขั้นตอนที่ 1.4  การเจาะรูผ่านผนัง
ก่อนยึดแผ่นติดตั้งเข้ากับผนังและติดตั้งชุดปรับอากาศเข้ากับ
แผ่นติดตั้ง กรอบหน้าต่าง หรือแผ่นยิปซัม จะต้องก�าหนดต�าแหน่ง
รู (ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 65 มม.) ซึ่งท่อที่มัดรวมกัน 
(ประกอบด้วย สายไฟ สายรับสัญญาณ ท่อสารท�าความเย็น และท่อ
ระบายน�้าทิ้ง ) จะทอดผ่าน แล้วจึงเจาะรูดังกล่าว
1  ก�าหนดต�าแหน่งของรูขนาด 65 มม. โดยค�านึงถึงทิศทางของท่อ
ที่มัดรวมกันซึ่งจะทอดผ่าน และระยะห่างน้อยที่สุดระหว่างรูดัง
กล่าวกับแผ่นติดตั้ง
ขวา
ซ้าย
ขวาหลังหรือซ้ายหลัง
<ทิศทางการมัดท่อรวมกันทีสามารถทำได้>
ขวาล่าง
  ระวัง
•  ถ้าต้องการเปลี่ยนทิศทางของท่อจากซ้ายไปขวา โปรดอย่างอท่อ
มากจนเกินไป ให้หมุนช้าๆ ไปในทิศทางตรงกันข้ามตามที่แสดง 
มิฉะนั้นท่ออาจเสียหายได้
<ระยะห่างอย่างน้อยระหว่างรูและแผ่นฉนวน >
รูสำหรับท่อทีมัดรวมกัน
2  เจาะรู
  ระวัง
•  ควรเจาะเพียงรูเดียวเท่านั้น 
•  รูดังกล่าวควรเอียงลงเพื่อให้ท่อระบายน�้าทิ้ง เอียงลงด้วย จึงจะ
สามารถระบายน�้าได้สะดวก
กำแพง
ท่อระบายนำทิง
ชุดปรับอากาศ
<รูเอียงลง>
ขั้นตอนที่ 1.5  การผูกท่อ สายไฟ และท่อ
ระบายน�้าทิ้ง
1  ให้ห่อฉนวนโฟมเข้ากับส่วนที่ไม่มีการหุ้มฉนวนที่ปลายท่อของ
ท่อสารท�าความเย็น ดังแสดงในภาพ การหุ้มฉนวนนี้ช่วยลด
ปัญหาการควบแน่น 
ฉนวน
ท่อสารทำความเย็น
2  พันท่อสารท�าความเย็น สายไฟประกอบ และท่อระบายน�้าทิ้ง ด้วย
เทปไวนิลเพื่อมัดท่อรวมกัน 
ท่อสารทำความเย็น 
(ท่อสำหรับติดตัง)
แผ่นฉนวน
เทปไวนิล
ท่อระบายนำทิง
สายไฟและสายรับสัญญาณ 
(สายสำหรับติดตัง)
การติดตั้งชุดปรับอากาศ
โปรดสแกน QR code นี
เพือดูวีดีโอการติดตังชุดปรับอากาศ
ขั้นตอนที่ 2.1  การถอดตะแกรงหน้า
1  ถอดฝาครอบสกรูและสกรูออก
ฝาครอบสกรู
สกรู
ไขควงปากแบน
ไขควงปากแฉก
2  ปลดล็อกตะขอข้าง ( ,  ) และตะขอกลาง ( ) ออก จากนั้น
ปลดล็อกตะขอด้านล่าง ( ) เพื่อดึงตะแกรงหน้าออก 
B
B
C
A
A
ตะขอกลาง (A)
ตะขอล่าง/ตะขอข้าง (B/C)
1
2
4
ขั้นตอนที่ 2.2  การถอดแผ่นติดตั้ง
ขั้นตอนที่ 2.3  การต่อสายไฟและสายรับ
สัญญาณ (สายส�าหรับติดตั้ง)
กล่องควมคุม
1(L)2(N)
F1 F2
•  เมื่อต่อสายดินและสายไฟ ให้ท�าตามมาตรฐานเทคนิคการ
ติดตั้งไฟฟ้า และข้อก�าหนดของสายไฟของพระราชบัญญัติ
กิจการไฟฟ้า
•  ขันสกรูของขั้วต่อที่ปลายด้วยแรงบิด  1.2-1.8 N•m (1.2-1.8 kgf•cm)
  หมายเหตุ
•  ลวดสายไฟแต่ละเส้นจะแบ่งประเภทตามตัวเลขขั้วต่อที่สอดคล้อง
กัน
•  ใช้สายป้องกัน (Category 5; น้อยกว่า 50pF/m) ส�าหรับพื้นที่ที่มี
สัญญาณรบกวน
•  วัสดุที่ใช้หุ้มสายไฟที่ใช้ส�าหรับชุดระบายความร้อนจะต้องน�้าหนัก
เบา มีความยืดหยุ่นไม่น้อยกว่าโพลีคลอโรพรีน (polychloroprene) 
(รหัส IEC: 60227 IEC53/CENELEC: H05VV-F, IEC: 60245 IEC66/
CENELEC: H07RN-F, IEC: 60245 IEC57/CENELEC: H05RN-F)
•  สายไฟและสายรับสัญญาณไม่ควรยาวเกิน 30 เมตร 
 
  ระวัง
•  ส�าหรับการต่อฐานเสียบขั้วต่อ สายไฟแบบไม่มีข้อต่อวงแหวน
อาจท�าให้เกิดอันตรายจากความร้อนของจุดเชื่อมต่อสายไฟขณะ
ใช้งานได้
•  หากต้องการต่อขยายท่อเพิ่ม ก็ควรต่อขยายสายไฟเพิ่มด้วยเช่น
กัน สายไฟแต่ละสายและท่อแต่ละท่อควรมีความยาวสูงสุดไม่เกิน 
15 เมตร (✴✴10/13✴✴) และ 30 เมตร (✴✴18/24✴✴) 
•  อย่าเพิ่มความยาวสายด้วยการน�าสายไฟต่างชนิดกันสองสายหรือ
มากกว่ามาต่อเข้าด้วยกัน การต่อด้วยลักษณะนี้อาจท�าให้เกิดไฟ
ไหม้ ได้
•  ขั้วต่อแต่ละขั้วจะต้องมีขนาดเท่ากับสกรูที่ตรงกันในกล่องขั้วต่อ
•  หลังจากต่อสายไฟแล้ว ให้แน่ใจว่าตัวเลขขั้วต่อที่ชุดปรับอากาศ
กับชุดระบายอากาศตรงกัน
•  ตรวจสอบสายไฟและสายรับสัญญาณจะถูกแยกออกจากกัน ต้อง
ไม่ต่อรวมกัน
•  ส�าหรับเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�าความเย็น R-32 ควรระมัดระวัง
ไม่ให้เกิดประกายไฟ โดยปฏิบัติตามข้อก�าหนดดังต่อไปนี้:
 
ห้ามถอดฟิวส์ออกขณะที่เปิดไฟ
 
ห้ามถอดปลั๊กไฟออกจากเต้ารับขณะที่เปิดเครื่องอยู่
 
ควรวางต�าแหน่งช่องระบายไว้ ให้สูงวางสายไฟโดยไม่ให้ม้วน
พันกัน
  ค�าเตือน
•  ต่อลวดสายไฟให้แน่น เพื่อไม่ให้ดึงออกโดยง่าย (หากลวดสายไฟ
หลวม อาจเป็นเหตุให้ลวดสายไฟไหม้ ได้)
ขั้นตอนที่ 2.4 ส่วนประกอบต่างๆ: การต่อ
ขยายสายไฟ  
1  เตรียมคอมเพรสเซอร์และเครื่องมือดังต่อไปนี้
เครื่องมือ
สเปค
รูปอุปกรณ์
คีมย�้าสาย
MH-14
ข้อต่อสายไฟแบบย�้า
20xØ6.5 (HxOD)
เทปฉนวน
Width 19 mm
ท่อหด (มม.)
70xØ8.0 (LxOD)
2  ปอกฉนวนหุ้มสายไฟใหญ่ออกและตัดสายตามระยะดังรูป 
•  ปอกฉนวนที่หุ้มลวดสายไฟออก 20 มม. ให้เรียบร้อย
  ระวัง
•  คุณสามารถดูข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลจ�าเพาะของสายไฟส�าหรับ
ภายในและภายนอกอาคารได้ที่คู่มือการติดตั้ง
•  หลังจากปอกฉนวนที่หุ้มสายไฟออกแล้ว ต้องท�าการใส่ท่อหด
ไว้ที่สายไฟแต่ละเส้น
สายไฟ 
สายไฟชนิดปอกหุ้ม
(หน่วย: มม.)
(หน่วย: มม.)
20
20
20
20
60
120
180
3.  ใส่ลวดสายไฟทั้งสองฝั่งเข้าไปในขั้วต่อสายไปแบบย�้า
•  วิธีที่ 1: กดแกนลวดเข้าไปในขั้วต่อสายไฟจากทั้งสองฝ่าย
•  วิธีที่ 2: บิดแกนลวดด้วยกันและดันมันเข้าไปในขั้วต่อสายไฟ
ข้อต่อสายไฟแบบยำ
ข้อต่อสายไฟแบบยำ
วิธี 1
วิธี 2
4  ใช้คีมย�้าสายไฟบีบย�้าสายทั้งสองจุดและพลิกสายไฟกลับอีกด้าน
หนึ่ง แล้วท�าเช่นเดียวกันอีกสองจุดในต�าแหน่งเดิม
•  คีมย�้าสายไฟควรใช้ช่อง 8.0
ขนาดการบีบอัด
 
 
•  หลังจากที่บีบสายไฟเสร็จแล้ว ให้ทดสอบดึงสายไฟทั้งสองข้าง
เพื่อให้แน่ใจว่าจุดต่อมีความแข็งแรง
บีด 4 ครัง
5 มม.
บีด 4 ครัง
5 มม.
วิธี 1
วิธี 2
5  พันด้วยเทปพันสายไฟอย่างน้อยสองชั้นแล้วจัดต�าแหน่งของท่อ
ลดให้อยู่ตรงกลางเทปพันสายไฟ
คุณต้องพันเทปพันสายไฟไม่ต�่ากว่าสามชั้น
วิธี 1
วิธี 2
เทปฉนวน
40 มม.
35 มม.
เทปฉนวน
6  ให้ความร้อนกับท่อหด เพื่อให้เกิดการหดรัดสายไฟ
ท่อหด
7  หลังจากนั้นให้พันเทปฉนวนอีกชั้นหนึ่งเป็นอันเสร็จสิ้น
เทปฉนวน
    ระวัง
•  ตรวจสอบให้แน่ใจว่าชิ้นส่วนเชื่อมต่อดังกล่าวไม่เผยออกมา
ด้านนอก 
•  อย่าลืมใช้เทปพันสายไฟและท่อลดที่ผลิตจากวัสดุฉนวน
ไฟฟ้าแบบเสริมแรงที่สามารถทนแรงดันไฟฟ้าระดับเดียวกับ
ที่วิ่งในสายไฟได้ (เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการต่อพ่วง
ภายในประเทศ) 
  ค�าเตือน
•  กรณีของการต่อสายไฟ โปรดอย่าใช้หัวต่อสายหุ้มรูปหมวก
 
การเชื่อมต่อที่ไม่สมบูรณ์ อาจเป็น
สาเหตุให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจรหรือไฟ
ไหม้ ได้
DB68-06591E-00
ก่อนต่อ
ถูกต้อง
คว�่าลง
ช�ารุด
บิดเบี้ยว
หลังต่อ
ถูกต้อง
ถูกต้อง
คว�่าลง
ไม่พอดี
(ลักษณะ
ด้านหน้า)
(ลักษณะ
ด้านข้าง)
<ขั้วต่อชนิดกลม>
ขันสกรูที่รัดสายไฟให้แน่น
รุ่น
✴✴
10/13✴✴
✴✴
18/24✴✴
สายไฟเพาเวอร์  
(ชุดปรับอากาศ)
3G X 2.5 ตร. มม., 
H07RN-F
3G X 2.5 ตร. มม., 
H07RN-F
สายไฟเชื่อมต่อระหว่างชุด
แฟนคอยล์กับชุดระบาย
ความร้อน
3G X 1.0 ตร. มม., 
H07RN-F
3G X 1.0 ตร. มม., 
H07RN-F
สายรับสัญญาณ
2 X 0.75 ตร. มม., 
H05RN-F
2 X 0.75 ตร. มม., 
H05RN-F
พิกัดเครื่องป้องกัน
20A
25A
 (หน่วย : มม.)
รุ่น
A
B
C
D
✴✴
10/13✴✴
36
190
81
36
✴✴
18/24✴✴
33
110
110
33
รูส�าหรับท่อที่มัดรวมกัน Ø 65 มม.
R-32_IM_DB68-06591E-00.indd   1
1/18/2017   2:21:58 PM