Samsung AR13MYPDAWKXST 설치 가이드

다운로드
페이지 2
ขั้นตอนที่ 2.5 การติดตั้งและการต่อท่อ
ระบายน�้าทิ้ง
1  ติดตั้งท่อระบายน�้าทิ้ง 
ท่อระบายนำทิง
ท่อสำหรับติดตัง
ท่อเชือมต่อ
้ ้
กำแพง
น้อยกว่า 
5 ซม.
ร่องนำ
นำ
เอียงลง
เอียงขึน
จุ่มลงไปในนำ
งอ
ระยะห่างน้อยเกินไป
ช่องแคบเกินไป
ชุดปรับอากาศ
ท่อระบายนำทิง
้ ้
2  เทน�้าเข้าไปในถาดน�้าทิ้ง ตรวจสอบว่าท่อระบายน�้าทิ้งได้
สะดวกหรือไม่
  ระวัง
•  ตรวจสอบว่าชุดปรับอากาศควรอยู่ในต�าแหน่งตั้งตรงเมื่อเทน�้าลง
ไปเพื่อตรวจสอบหารอยรั่ว ตรวจสอบไม่ให้น�้าล้นออกมาเปียก
ชิ้นส่วนไฟฟ้า 
•  หากเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อเชื่อมต่อมีขนาดเล็กกว่าท่อระบาย
น�้าทิ้ง ของผลิตภัณฑ์ อาจมีน�้ารั่วไหล
•  ถ้าติดตั้งไม่ดี อาจส่งผลให้มีน�้าซึมออกได้
•  หากท่อระบายน�้าทิ้ง อยู่ภายในห้อง ควรหุ้มท่อด้วยฉนวน เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดน�้าซึม ท�าความเสียหายต่อเฟอร์นิเจอร์และพื้น
•  อย่าปิดหรือคลุมจุดต่อท่อระบายน�้าทิ้ง  
จุดต่อท่อระบายน�้าทิ้ง ต้องเข้าถึงและซ่อมบ�ารุงรักษาได้ง่าย 
ขั้นตอนที่ 2.6 ส่วนประกอบต่างๆ: การต่อ
ขยายท่อระบายน�้าทิ้ง 
(A)
(B)
ท่อระบายนำทิง (A)
ท่อระบายนำทิงทีต่อเพิม (B)
ท่อระบายนำทิง
ท่อระบายนำทิงทีต่อเพิม
มากกว่าหรือเท่ากับ 20 มม.
โฟมฉนวน
เทปไวนิล
มม.
้ ้
้ ้
้ ้
้ ้
ขั้นตอนที่ 2.7 ส่วนประกอบต่างๆ: การเปลี่ยน
ทิศทางของท่อระบายน�้าทิ้ง 
เทนำตามทิศทางของลูกศร
<ลักษณะด้านหน้า>
<ลักษณะด้านข้าง>
ทิศทางของนำทีระบายทิง
ช่องระบายของถาดนำทิง
จุกยาง
้ ่
้ ้
  ระวัง
•  ตรวจสอบว่าชุดปรับอากาศควรอยู่ในต�าแหน่งตั้งตรงเมื่อเทน�้าลง
ไปเพื่อตรวจสอบหารอยรั่ว ตรวจสอบไม่ให้น�้าล้นออกมาเปียกชิ้น
ส่วนไฟฟ้า  
ขั้นตอนที่ 2.8  การติดตั้งและการต่อท่อ
ส�าหรับติดตั้งเข้ากับท่อสารท�าความเย็น (ท่อ
ส�าหรับติดตั้ง)
ใช้วิธีการต่อแบบปลายบานในการต่อชุดปรับอากาศเข้ากับชุดระบาย
ความร้อนด้วยท่อทองแดงซึ่งสามารถจัดหาได้ ในพื้นที่การด�าเนินงาน 
ใช้เฉพาะท่อส�าหรับการท�าความเย็นชนิดไร้ตะเข็บ หุ้มด้วยฉนวนกัน
ไฟฟ้าเท่านั้น (ชนิด Cu DHP ตาม ISO1337) ผิวท่อไม่ทาน�้ามัน/จารบี 
และเนื้อท่อไม่ผสมออกซิเจนเหมาะส�าหรับแรงดันขณะเครื่องท�างาน
อย่างน้อยที่สุด 4,200 kPa และเหมาะส�าหรับแรงดันแตกระเบิดอย่าง
น้อยที่สุด 20,700 kPa ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามจะต้องใช้ท่อทองแดงที่
สะอาด 
ท่อทองแดงที่ใช้ส่งผ่านสารท�าความเย็นมีขนาดต่างกัน 2 ขนาด ดัง
ต่อไปนี้: 
•  ท่อขนาดเล็กใช้ส�าหรับสารท�าความเย็นสถานะของเหลว 
•  ท่อขนาดใหญ่ส�าหรับสารท�าความเย็นสถานะไอ 
ที่ชุดปรับอากาศจะมีการต่อท่อสารท�าความเย็นสถานะของเหลวซึ่งมี
ขนาดสั้นและท่อสารท�าความเย็นสถานะไอซึ่งมีขนาดสั้นไว้แล้ว วิธีการ
ต่อท่อน�้ายาท�าความเย็นมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับการเลือกทางเดินของ
แต่ละท่อ โดยอ้างอิงต�าแหน่งการหันหน้าชุดปรับอากาศเข้าผนัง
ขวา
ด้านล่าง
ขวาหลังหรือซ้ายหลัง
<ลักษณะด้านหน้า>
<ลักษณะด้านข้าง>
ซ้าย
1  ตัดรอยที่เหมาะสม (A, B, C) ที่ด้านหลังของชุดปรับอากาศ นอกเสีย
จากคุณต่อท่อโดยตรงจากด้านหลัง
2  ตัดแต่งรอยตัดให้เรียบร้อย 
3  ถอดฝาปิดปลายท่อแล้วท�าการต่อท่อเข้ากับท่อที่หุ้มฉนวนทีละ
ชุด โดยท�าการขันน็อตด้วยมือก่อน แล้วจึงใช้ประแจทอร์คขันตาม
ตารางค่าทอร์ค: 
ขนาดท่อด้านนอก (มม.)
ค่าทอร์ค (N•m)
ค่าทอร์ค (kgf•cm)
ø 6.35
14 ถึง 18
140 ถึง 180
ø 9.52
34 ถึง 42
350 ถึง 430
ø 12.70
49 ถึง 61
500 ถึง 620
ø 15.88
68 ถึง 82
690 ถึง 830
  หมายเหตุ
•  ถ้าต้องการเพิ่มหรือลดความยาวท่อ ขั้นตอนที่ 2.9 การลดหรือ
การเพิ่มความยาวท่อ สารท�าความเย็น (ท่อส�าหรับติดตั้ง) 
•  ขันนอตให้แน่นด้วยค่าทอร์คตามที่ก�าหนดหากขันแน่นเกินไป 
นอตอาจแตกหักจนสารท�าความเย็นรั่วไหลออกมา
4  ตัดโฟมฉนวนส่วนที่เกินออกมา 
5  ถ้าจ�าเป็นต้องดัดท่อบริเวณด้านหลังของชุดปรับอากาศ ก่อนที่จะ
เดินท่อออกไปทางช่องที่เลือกไว้ โดย
•  ท่อต้องไม่ยื่นออกมาจากด้านล่างของชุดปรับอากาศ 
•  รัศมีในการดัดท่อต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 100 มม. 
6  เดินท่อทะลุผ่านผนังที่เจาะรูไว้ 
  หมายเหตุ
•  ระบบท่อต้องหุ้มด้วยท่อฉนวนและยึดอย่างถาวรในต�าแหน่งที่
ทดสอบแล้วว่าไม่มีการรั่วของแก๊ส ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่  ขั้น
ตอนที่ 4.1 การตรวจสอบรอยรั่ว
  ระวัง
•  การขันวาล์วควรใช้ค่าทอร์คตามที่ได้ก�าหนดไว้ หากขันวาล์วแน่น
เกินไปอาจท�าให้แตกร้าวและเป็นสาเหตุของน�้ายารั่ว 
•  อย่าปิดหรือคลุมจุดต่อท่อ จุดต่อท่อสารท�าความเย็นทั้งหมดต้อง
เข้าถึงและซ่อมบ�ารุงรักษาได้ง่าย
ขั้นตอนที่ 2.9  การลดหรือการเพิ่มความยาว
ท่อสารท�าความเย็น (ท่อส�าหรับติดตั้ง)
เครืองตัดท่อ
ท่อ
90°
เบียว
ไม่เรียบ
เป็นเสียน
R 0.4 ถึง 0.8
90°±2°
45°±2°
L
D
D
A
การบานท่อ
ท่อ
(หน่วย: มม.)
ขนาดท่อด้านนอก (D)
ลึก (A)
ขนาดการบานท่อ
ø 6.35
1.3
8.7 ถึง 9.1
ø 9.52
1.8
12.8 ถึง 13.2
ø 12.70
2.0
16.2 ถึง 16.6
ø 15.88
2.2
19.3 ถึง 19.7
ท่อเชือมต่อ
นอตข้อต่อ
ท่อของชุดปรับอากาศ
  ระวัง
•  หากต้องการให้ท่อยาวกว่าที่ก�าหนดไว้ตามรหัสและมาตรฐาน
ท่อ จะต้องเพิ่มสารท�าความเย็นเข้าไปในท่อด้วย มิฉะนั้นชุดปรับ
อากาศอาจหยุดท�างาน 
•  เพื่อป้องกันไม่ให้แก๊สรั่วออก ให้ก�าจัดเสี้ยนที่ขอบตัดของท่อออก
ให้หมดโดยใช้เครื่องมือคว้านท่อทองแดง
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันตำ>
ถูกต้อง
<น็อตข้อต่อ>
เอียง
ร้าว
ความหนาไม่
สมำเสมอ
ผิวด้านหน้าชำรุด
  หมายเหตุ
•  แรงบิดมากเกินไปสามารถก่อให้เกิดแก๊สรั่วได้ ในกรณีที่บัดกรีท่อ 
จะต้องเป่าแก๊สไนโตรเจนเข้าไปในท่อ ข้อต่อจะต้องสามารถเข้า
ถึงและซ่อมบ�ารุงได้
  ระวัง
•  ขันน็อตข้อต่อให้แน่นด้วยค่าทอร์คตามที่ก�าหนด หากขัน
น็อตข้อต่อแน่นเกินไป น็อตข้อต่ออาจแตกและท�าให้แก๊สสาร
ท�าความเย็นรั่วได้
ขั้นตอนที่ 2.10  การติดแผ่นติดตั้ง  
คุณสามารถติดตั้งชุดปรับอากาศเข้ากับผนัง กรอบหน้าต่าง หรือ
แผ่นยิปซัมก็ได้ 
  ค�าเตือน
•  ตรวจสอบว่า ผนัง กรอบหน้าต่าง หรือแผ่นยิปซัมสามารถรองรับ
น�้าหนักของชุดปรับอากาศได้ หากติดตั้งชุดปรับอากาศในสถาน
ที่ซึ่งมั่นคงไม่พอต่อการรองรับน�้าหนัก ชุดปรับอากาศอาจตกลง
มาและท�าให้บาดเจ็บได้
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับผนัง
ยึดแผ่นติดตั้งเข้ากับผนังโดยต้องค�านึงถึงน�้าหนักของชุดปรับ
อากาศด้วย
B
A
D
C
สลักพลาสติก
กำแพง
20 มม.
  หมายเหตุ
•  หากคุณยึดแผ่นติดตั้งเข้ากับผนังคอนกรีตโดยใช้พลาสติก ให้
แน่ใจว่าช่องว่างระหว่างผนังกับแผ่นติดตั้งซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจาก
พลาสติกที่ยื่นออกมานั้น มีขนาดน้อยกว่า 20 มม.
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับกรอบหน้าต่าง
1  ให้ก�าหนดต�าแหน่งของแผ่นไม้ตั้งตรงที่จะติดเข้ากับกรอบ
หน้าต่าง 
2  ติดตั้งแผ่นไม้ที่กรอบหน้าต่าง ให้มีน�้าหนักที่เหมาะสมกับชุด
ปรับอากาศ 
3  ติดแผ่นติดตั้งเข้ากับแผ่นไม้แล้วใช้ตะปูขัน
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับแผ่นยิปซัม
1  หาต�าแหน่งของสลักเกลียวโดยใช้อุปกรณ์ส�าหรับค้นหา
สลักเกลียว 
2  ยึดที่แขวนแผ่นติดตั้งเข้ากับสลักเกลียวสองตัว
  ระวัง
•  หากติดชุดปรับอากาศบนแผ่นยิปซัม ให้ ใช้สลักสมอที่ก�าหนด
ไว้ ในต�าแหน่งอ้างอิงเท่านั้น มิฉะนั้น เมื่อเวลาผ่านไป แผ่นยิปซัม
รอบๆ ข้อต่ออาจแตก และท�าให้สกรูหลวมและหลุดออกมาได้ ซึ่ง
อาจท�าให้ร่างกายบาดเจ็บหรืออุปกรณ์ช�ารุดเสียหายได้ 
•  ถ้ามีสลักเกลียวไม่มีหัวน้อยกว่าสองตัว หรือถ้าระยะห่างระหว่าง
สลักเกลียวไม่มีหัวไม่พอดีกับที่แขวนแผ่นติดตั้ง ให้ค้นหาจุด
อื่นๆ ด้วย 
•  ยึดแผ่นติดตั้งโดยไม่ให้ลาดเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง  
ขนาดท่อด้านนอก (มม.) ค่าทอร์ค (N•m) ค่าทอร์ค (kgf•cm)
ø 6.35
14 ถึง 18
140 ถึง 180
ø 9.52
34 ถึง 42
350 ถึง 430
ø 12.70
49 ถึง 61
500 ถึง 620
ø 15.88
68 ถึง 82
690 ถึง 830
ขั้นตอนที่ 2.11  การติดชุดปรับอากาศเข้า
กับแผ่นติดตั้ง 
  ระวัง
•  ตรวจสอบว่าท่อที่มัดรวมกันไม่ขยับเมื่อติดตั้งชุดปรับอากาศ
ลงบนแผ่นติดตั้ง
ขั้นตอนที่ 2.12  การประกอบตะแกรงหน้า
  
1  ล็อกตะขอข้าง  (D) และตะขอกลาง (B) จากนั้นล็อกตะขอล่าง 
(C) เพื่อยึดตะแกรงหน้าให้อยู่ในต�าแหน่ง 
2  ขันสกรู (A- ) ให้แน่น แล้วใส่ฝาครอบสกรูเข้าไป (A- )
B
B
C
C
A
A
A
B
B
C
C
D
D
1
2
A
2
1
การติดตั้งชุดระบายความร้อน
ขั้นตอนที่ 3.1  การติดชุดระบายความร้อน
X
Y
ขายาง
1  วางชุดระบายความร้อนโดยเอาหัวลงตามที่แสดงไว้ เพื่อช่วยให้
ระบายอากาศออกจากชุดระบายความร้อนได้อย่างเหมาะสม 
2  ใช้สลักสมอยึดชุดระบายความร้อนในแนวระดับเข้ากับที่รองรับ
ที่เหมาะสม
  หมายเหตุ
•  ติดขายางให้แน่นเพื่อป้องกันการเกิดเสียงและการสั่นสะเทือน
•  หากชุดระบายความร้อนติดตั้งในสถานที่เปิดรับลมแรง ให้ติด
ตั้งแผ่นป้องกันรอบชุดระบายความร้อนเพื่อให้พัดลมสามารถ
ท�างานได้อย่างถูกต้อง
ส่วนประกอบต่างๆ: ติดชุดระบายความร้อนเข้ากับผนัง
ด้วยชั้นวาง
ยางจะช่วยลดแรงสันสะเทือนทีชันวางส่งไปยังกำแพง 
(ไม่มีมาให้)
ยางจะช่วยลดแรงสันสะเทือนทีชุดระบายความร้อนส่งไปยังชันวาง 
(ไม่มีมาให้)
  หมายเหตุ
•  ให้แน่ใจว่าผนังจะสามารถใช้แขวนน�้าหนักของชั้นวางและชุด
ระบายความร้อนได้
•  ติดตั้งชั้นวางให้ ใกล้กับเสามากที่สุดเท่าที่จะมากได้
 
 
 
 
ขั้นตอนที่ 3.2  การต่อสายไฟ การรับสัญญาณ 
และท่อสารท�าความเย็น
F1
F2
L
N
สายไฟเชือมต่อระหว่างชุด
แฟนคอยล์กับชุดระบาย
ความร้อน (3 แกน)
สายรับสัญญาณ
(2 แกน)
สายไฟเพาเวอร์
(3 แกน)
  ระวัง
•  ควรใช้ห่วงล็อกติดสายไฟและสายรับสัญญาณ 
กล่องควมคุม
ถอดสกรูฝาครอบกล่องควบคุม
ออก
ถอดฝาปิดช่องเติมแก๊สและช่อง
เติมของเหลวออก
สำหรับต่อท่อสารทำความเย็น
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันตำ>
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
ต่อท่อสารทำความเย็นทีมีสถานะ
เป็นแก๊สและของเหลว
ขั้นตอนที่ 3.3  การไล่อากาศ
ในชุดระบายความร้อนจะบรรจุสารท�าความเย็น R-32 ไว้เพียงพอ อย่า
ระบายสารท�าความเย็น R-32 ออกสู่บรรยากาศเนื่องจากสารดังกล่าว
เป็นแก๊สเรือนกระจกในกลุ่มฟลูออริเนตซึ่งถูกควบคุมภายใต้ข้อ
ตกลงของพิธีสารเกียวโต โดยมีศักยภาพในการดูดกลืนความร้อน 
(GWP) = 675 ควรไล่อากาศในชุดปรับอากาศและในท่อออก ถ้าอากาศ
ยังเหลืออยู่ในท่อสารท�าความเย็น จะมีผลกระทบต่อคอมเพรสเซอร์
ได้ อาจท�าให้ความสามารถในการท�าความเย็นลดลง และเครื่องท�างาน
ผิดปกติ ให้ ใช้ปั๊มสุญญากาศดังแสดงในภาพ 
  ระวัง
•  เมื่อติดตั้ง ให้แน่ใจว่าไม่มีการรั่ว เมื่อบรรจุสารท�าความเย็นกลับคืน 
ให้ต่อสายดินคอมเพรสเซอร์ก่อนแล้วจึงถอดท่อที่เชื่อมต่อออก 
หากไม่ได้ต่อท่อสารท�าความเย็นอย่างถูกต้องและคอมเพรสเซอร์
ท�างานโดยที่วาล์วเปิด-ปิด ยังเปิดอยู่ ท่อจะดูดอากาศเข้า เป็นเหตุ
ให้แรงดันภายในของวงจรสารท�าความเย็นสูงผิดปกติ ซึ่งอาจก่อให้
เกิดการระเบิดและการบาดเจ็บได้
1  ปล่อยให้เครื่องเข้าสู่โหมดสแตนด์บาย
  ค�าเตือน
•  อย่าเปิดเครื่องเด็ดขาด เนื่องจากเป็นสิ่งจ�าเป็นในการท�าให้เกิด
สุญญากาศที่ดีกว่า (ต�าแหน่ง เปิด เต็มที่ของวาล์วลดแรงดัน
แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EEV)) 
2  ต่อสายส�าหรับบรรจุสารท�าความเย็นของด้านแรงดันต�่าของชุดเก
จวัดแรงดันสารท�าความเย็นเข้ากับช่องเติมแก๊ส ดังแสดงในภาพ 
3
4
15 นาที
ปัมสุญญากาศ
(ป้องกันการไหลย้อนกลับ)
ช่องเติมของเหลว <ความดันตำ>
ช่องเติมของเหลว <ความดันสูง>
วาล์ว
5
3  เปิดวาล์วด้านแรงดันต�่าของชุดเกจวัดแรงดันสารท�าความเย็นด้วย
การหมุนทวนเข็มนาฬิกา 
4  ไล่อากาศในท่อที่ต่ออยู่ออกโดยใช้ปั๊มสุญญากาศประมาณ 15 นาที 
•  ให้แน่ใจว่าเกจวัดแรงดันแสดงค่า -0.1 MPa (-76 cmHg, 5 torr) 
หลังเวลาผ่านไปประมาณ 10 นาที ตอนนี้ส�าคัญมากในการ
หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดแก๊สรั่ว 
•  ปิดวาล์วด้านความดันต�่าของเกจวัดความดันโดยหมุนตาม
เข็มนาฬิกา 
•  ปิดปั๊มสุญญากาศ 
•  ใช้เวลาตรวจสอบ 2 นาที เพื่อดูว่าแรงดันมีการเปลี่ยนแปลง
หรือไม่ 
•  ถอดสายของด้านแรงดันต�่าของชุดเกจวัดแรงดันสารท�าความ
เย็นออก 
5  ตั้งจุกวาล์วของช่องเติมของเหลวและแก๊สไปที่ต�าแหน่งเปิด 
ขั้นตอนที่ 3.4  การเติมสารท�าความเย็น
หากใช้ท่อยาวกว่าความยาวที่ก�าหนดตามรหัสและมาตรฐานท่อ จะ
ต้องเติมสารท�าความเย็น R-32 ปริมาณ 10 กรัม ต่อความยาวที่เพิ่ม
ขึ้นหนึ่งเมตร หากใช้ท่อสั้นกว่าความยาวที่ก�าหนดไว้ตามรหัสและ
มาตรฐานท่อ เวลาในการไล่อากาศจะเท่ากับปกติ โปรดดูรายละเอียด
เพิ่มเติมตามคู่มือการใช้งาน  
  ระวัง
•  อากาศที่เหลืออยู่ในวงจรการท�าความเย็น ซึ่งมีความชื้นนั้น อาจ
ก่อให้เกิดการท�างานผิดปกติในคอมเพรสเซอร์ได้ 
•  ให้ติดต่อศูนย์บริการหรือตัวแทนการติดตั้งมืออาชีพส�าหรับการ
ติดตั้งเครื่องเสมอ 
ข้อควรระวังเมื่อเติมสารท�าความเย็น R-32
นอกเหนือจากขั้นตอนการเติมน�้ายาทั่วไปแล้ว ควรปฏิบัติตามข้อ
ก�าหนดดังต่อไปนี้
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าในการเติมสารท�าความเย็น ไม่มีสาร
ท�าความเย็นอื่นใดมาปนเปื้อน 
•  ในการลดปริมาณสารท�าความเย็นให้เหลือน้อยที่สุด ควรให้สาย
ยางและท่อต่างๆ มีความยาวสั้นที่สุดเท่าที่จะท�าได้
•  ถังเก็บควรตั้งตรง
•  ควรตรวจสอบให้แน่ว่าได้ต่อสายดินของระบบท�าความเย็นแล้ว
ก่อนที่จะท�าการเติมสารท�าความเย็น
•  หากจ�าเป็น ควรปิดป้ายระบบให้เรียบร้อยหลังจากเติมสาร
ท�าความเย็นแล้ว
•  ควรระมัดระวังอย่างที่สุดเพื่อไม่ให้เติมสารท�าความเย็นเข้าระบบ
จนมากเกินไป
•  ก่อนที่จะเติมสารท�าความเย็นเข้าไป ควรตรวจสอบความดันก่อน
ด้วยการเป่าไนโตรเจน
•  หลังจากเติมแล้ว ควรตรวจสอบการรั่วไหลก่อนปลดออกจาก
ระบบ
•  ควรตรวจสอบหาการรั่วไหลก่อนออกจากพื้นที่ปฏิบัติงาน
 
การตรวจสอบการติดตั้ง
ขั้นตอนที่ 4.1  การตรวจสอบรอยรั่ว
1  ก่อนที่จะตรวจสอบการรั่วไหล โปรดใช้ประแจวัดแรงบิด (ประแจ
ปอนด์) ปิดฝาของวาล์วเปิด-ปิด (ใช้แรงบิดในการขันส�าหรับเส้น
ผ่านศูนย์กลางแต่ละขนาด และขันฝาปิดให้แน่นเพื่อป้องกัน
การรั่วไหล)
แรงบิดสำหรับฝาปิด 
(ดูได้จากตาราง)
แกนหมุน
แกนเติม
R-22: เกลียวของสกรู - 7/16-2OUNF
R-410A: เกลียวของสกรู -1/2-2OUNF
แรงบิดสำหรับฝาปิดช่องเติม (ดูได้จากตาราง)
2  ให้ ใส่แก๊สเฉื่อยในท่อที่เชื่อมไปยังชุดปรับอากาศและชุดระบาย
ความร้อน 
3  ใช้ฟองสบู่หรือของเหลวเพื่อตรวจหารอยรั่วที่ชิ้นส่วนเชื่อมต่อของ
ชุดปรับอากาศและชุดระบายความร้อน  
ของชุดปรับอากาศและชุดระบายความร้อน 
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
ขั้นตอนที่ 4.2 การใช้ โหมด Smart Install
1  ตรวจสอบให้เครื่องปรับอากาศอยู่ในสถานะสแตนด์บาย 
2  กดปุ่ม   (Power),   (Mode), และ 
 (SET) บน
รีโมทคอนโทรลพร้อมกันและกดค้างไว้ประมาณ 4 วินาที 
3  รอจนกว่าโหมด Smart Install จะติดตั้งส�าเร็จหรือล้มเหลวในการ
ติดตั้ง โดยจะใช้เวลาประมาณ 7 ถึง 13 นาที
•  ขณะที่โหมด Smart Install ก�าลังแสดงความคืบหน้าในการ
ติดตั้ง:
ประเภท
หน้าจอแสดงผลเป็น 
หน้าจอแสดงผลแบบ LED
ไฟแสดง
สถานะ
ของชุด
ปรับ
อากาศ
LED1
LED2
LED3
การแสดงความคืบ
หน้าในการติดตั้ง
จะแสดงเป็นตัวเลข
ระหว่าง 0 ถึง 99  โดย
แสดงที่หน้าจอแส
ดงผลของชุดปรับ
อากาศ
ไฟ LEDs บนชุดปรับอากาศ
กะพริบตามล�าดับ จากนั้น
ไฟ LEDs ทั้งหมดจะกะพริบ
พร้อมกัน ซึ่งลักษณะการ
กะพริบดังกล่าวจะเกิด
ซ�้าไปมา
•  เมื่อการติดตั้งโหมด Smart Install ส�าเร็จ  : โหมด Smart Install 
จะสิ้นสุดการติดตั้งพร้อมเสียงดังเตือน และเครื่องปรับ
อากาศจะกลับเข้าสู่สถานะปกติ 
•  เมื่อการติดตั้งโหมด Smart Install ล้มเหลว : ข้อความแสดง
ความผิดปกติจะแสดงบนหน้าจอแสดงผลของชุดปรับอากาศ 
และโหมด Smart Install จะจบการท�างาน
  หมายเหตุ
•  โหมด Smart Install จะท�างานกับรีโมทคอนโทรลที่ให้มาด้วย
เท่านั้น
•  ในระหว่างที่โหมด Smart install ก�าลังติดตั้งอยู่ รีโมทคอนโทรล
จะใช้งานไม่ได้
ขั้นตอนที่ 4.3  การตรวจสอบขั้นสุดท้าย
และการทดสอบการท�างาน
1  ตรวจสอบการติดตั้งตามหัวข้อดังต่อไปนี้: 
•  ความมั่นคงแข็งแรงของสถานที่ติดตั้ง 
•  จุดต่อท่อเพื่อตรวจสอบการรั่วของสารท�าความเย็น 
•  การต่อสายไฟ 
•  ฉนวนกันความร้อนที่ใช้หุ้มท่อสารท�าความเย็น 
•  การต่อท่อระบายน�้าทิ้ง 
•  การต่อสายดิน 
•  การท�างานของเครื่องปรับอากาศ (ตามขั้นตอนข้างล่างนี้) 
2  กดปุ่ม   (Power) บนรีโมทคอนโทรลเพื่อตรวจสอบดังต่อ
ไปนี้: 
•  ไฟแสดงสถานะที่ชุดปรับอากาศติดสว่าง 
•  ใบพัดปรับทิศทางลมของชุดปรับอากาศหมุนเปิด พัดลม
เริ่มท�างาน 
3  กดปุ่ม   (Mode) เลือกโหมด Cool จากนั้นให้ท�าตามขั้นตอน
ย่อยดังต่อไปนี้: 
•  ในโหมด Cool ให้กดปุ่มอุณหภูมิเพื่อตั้งค่าอุณหภูมิที่ 16 °C 
•  ตรวจสอบว่าหลังเวลาผ่านไป 3 ถึง 5 นาที ชุดระบายความ
ร้อนเริ่มท�างาน และมีลมเย็นเป่าออกมาหรือไม่ 
•  หลังจากเวลาผ่านไป 12 ให้ตรวจสอบสภาพอากาศที่
เปลี่ยนไปจากชุดปรับอากาศ 
4  กดปุ่ม   (Air swing) เพื่อตรวจสอบว่าใบพsัดปรับทิศทางลม
ท�างานถูกต้องหรือไม่ 
5  กดปุ่ม   (Power) เพื่อหยุดการทดสอบการท�างาน
การสูบถ่ายสารท�าความเย็น
การด�าเนินการที่มีจุดประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมสารท�าความเย็นใน
ระบบทั้งหมดของชุดระบายอากาศ การด�าเนินการนี้ต้องให้แล้ว
เสร็จก่อนถอดท่อสารท�าความเย็นออก ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการ
สูญเสียสารท�าความเย็นสู่บรรยากาศ 
1  ปิดวาล์วของเหลวด้วยประแจหกเหลี่ยม 
2  เปิดเครื่องปรับอากาศในขณะท�าความเย็นซึ่งพัดลมก�าลัง
พัดด้วยความเร็วสูง (คอมเพรสเซอร์จะเริ่มท�างานทันที โดยมี
เงื่อนไขว่าเวลาต้องผ่านไปแล้ว 3 นาที นับตั้งแต่หยุดท�างาน
ครั้งล่าสุด) 
3  หลังจากท�างานได้ 2 นาที ให้ปิดวาล์วด้านดูดด้วยประแจตัว
เดียวกัน 
4  ปิดเครื่องปรับอากาศและปิดสวิตช์แหล่งจ่ายไฟ 
5  ถอดท่อออก หลังจากถอดแล้ว ควรป้องกันฝุ่นละอองไม่ให้จับ
เกาะวาล์วและปลายท่อ  
 
 
  ระวัง
•  คอมเพรสเซอร์อาจเกิดความเสียหายได้ หากท�างานด้วยแรง
ดันด้านดูดเป็นลบ 
1
2
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันต่ำ>
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
1 นาที
ปิด
ขนาดท่อด้านนอก 
(มม.)
แรงบิด
ฝาปิด
ฝาปิดช่องเติม
ø 6.35
20 ถึง 25
10 ถึง 12
ø 9.52
20 ถึง 25
ø 12.70
25 ถึง 30
ø 15.88
30 ถึง 35
มากกว่า ø 19.05
35 ถึง 40
 ( 1 N•m = 10 kgf•cm )
เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้น ควรอ้างอิงวิธีการแก้ ไขปัญหาเบื้องต้นตามตารางดังต่อไปนี้ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
การแก้ ไขปัญหาความผิดปกติเบื้องต้น โปรดดูที่คู่มือการบริการ
ไฟแสดงสถานะความผิดปกติ
ความผิดปกติ
การแก้ ไขปัญหาเบื้องต้นโดยช่าง
ผู้ติดตั้ง
หน้าจอแสดงผลเป็น 
หน้าจอแสดงผลแบบ LED
LED 1
LED 2
LED 3
 
/
   
/
 
ความผิดปกติในการ
สื่อสารระหว่างชุดปรับ
อากาศและชุดระบาย
ความร้อน
•  ตรวจสอบสายการเชื่อมต่อ
ระหว่างชุดปรับอากาศและ
ชุดระบายความร้อน (ตรวจ
สอบว่าสายไฟและสายรับ
สัญญาณมีการสลับกัน
หรือไม่)
ความผิดปกติที่ตัวจับ
อุณหภูมิ
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
ความผิดปกติที่อุปกรณ์
แลกเปลี่ยนความร้อน
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
ความผิดปกติที่พัดลม
ของชุดปรับอากาศ
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
•  ขจัดสิ่งแปลกปลอมออก
ไป (ในกรณีที่มีสิ่งกีดขวาง
มอเตอร์)
หน้าจอแสดงเป็น 
 และไฟ LEDs 
ทั้งหมดกะพริบ
EEPROM/ความผิดปกติ
ที่ Option
•  รีเซ็ต Options
ความผิดปกติจากสาร
ท�าความเย็นไม่ไหล
•  ตรวจสอบว่าวาล์วเปิด-ปิด 
เปิดอยู่จนสุดหรือไม่
•  ตรวจสอบว่ามีการอุดตันใน
ท่อสารท�าความเย็นที่เชื่อม
ต่อชุดปรับอากาศและชุด
ระบายความร้อนหรือไม่
•  ตรวจสอบการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็น
สารท�าความเย็นไม่เพียง
พอ (ส�าหรับรุ่นอินเวอร์
เตอร์เท่านั้น)
•  ตรวจสอบว่ามีการเติม
ปริมาณสารท�าความเย็นเพิ่ม
เติมเพื่อให้เพียงพอส�าหรับ
ท่อที่มีความยาวกว่าความยาว
ตามรหัสและมาตรฐานท่อที่
ก�าหนดไว้หรือไม่ 
•  ตรวจสอบการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็นระหว่างวาล์วและ
ข้อต่อของท่อ
h
   รูปแบบ LED นี้จะปรากฏเมื่อ
มีความผิดปกติเกิดขึ้นกับชุด
ระบายความร้อน  
h
 
 : ปิด,    : กะพริบ,    : เปิด
ขั้นตอนการบ�ารุงรักษา
การสูบถ่ายสารท�าความเย็นเข้าระบบเพื่อเคลื่อนย้าย
เครื่องปรับอากาศ
1  กดปุ่ม   (Power) บนชุดปรับอากาศค้างไว้ประมาณ 5 วินาที 
จะได้ยินเสียงปี๊บเพื่อแสดงว่าเครื่องปรับอากาศพร้อมเข้าสู่
ขั้นตอนการสูบถ่ายสารท�าความเย็นเข้าระบบ 
2  ปล่อยให้คอมเพรสเซอร์ท�างานมากกว่า 5 นาที 
3  เปิดฝาปิดวาล์วด้านความดันสูงและความดันต�่า 
4  ใช้ประแจ L ปิดวาล์วด้านความดันสูง 
5  หลังจากคอมเพรสเซอร์ท�างานประมาณ 1 นาที ให้เปิดวาล์ว
ด้านความดันต�่า 
6  ปิดเครื่องปรับอากาศโดยกดปุ่ม   (Power) บนชุดปรับ
อากาศหรือบนรีโมทคอนโทรล 
7  ถอดท่อน�้ายาออก
การทดสอบการรั่วไหลของแก๊สส�าหรับการซ่อมแซม
ในกรณีที่ซ่อมวงจรท�าความเย็น ควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
เพื่อพิจารณาความสามารถในการติดไฟ
1  น�าสารท�าความเย็นออก
2  ไล่อากาศออกจากระบบท�าความเย็นโดยใช้แก๊สเฉื่อย
3  ท�าการสูบถ่าย
4  ไล่อากาศวงจรท�าความเย็นโดยใช้แก๊สเฉื่อย
5  เปิดวงจร
6  ท�าการซ่อมแซม
7  เติมสารท�าความเย็นเข้าระบบ
8  ใช้ ไนโตรเจนเป่าระบบให้เรียบร้อยเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัย
9  ปฏิบัติตามขั้นตอนด้านบนซ�้าหลายๆ ครั้งจนกว่าจะไม่มี
สารท�าความเย็นหลงเหลืออยู่ภายในระบบ
  ระวัง
•  ไม่ควรใช้อากาศหรือออกซิเจนอัด
•  ใช้ ไนโตรเจนเป่าระบบให้เรียบร้อย เติมสารท�าความเย็น
เข้าไปจนกว่าจะถึงระดับความดันในการท�างาน ถ่ายเท
อากาศ แล้วจึงลดสภาวะสุญญากาศ
•  ส�าหรับการเติมด้วยการเป่าไนโตรเจน ควรถ่ายเทระบบให้ต�่า
ลงจนได้แรงดันบรรยากาศ
•  ขั้นตอนดังกล่าวส�าคัญอย่างยิ่งหากมีการบัดกรีท่อ
•  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าช่องระบายของปั๊มสุญญากาศไม่ได้
อยู่ใกล้กับแหล่งก�าเนิดเปลวไฟ และสามารถท�าการถ่ายเท
อากาศได้
การยกเลิกการใช้งาน
ต้องปฏิบัติตามข้อก�าหนดดังต่อไปนี้ทั้งก่อนและในขณะที่
ยกเลิกการท�างานของระบบ: 
•  ควรให้ผู้ปฏิบัติงานศึกษารายละเอียดของเครื่องปรับ
อากาศจนเข้าใจดีก่อนท�าการยกเลิกระบบ 
•  ควรสูบถ่ายสารท�าความเย็นทั้งหมดออกมาได้อย่าง
ปลอดภัย
•  ก่อนที่จะเริ่มด�าเนินการ ควรเก็บตัวอย่างของน�้ามันและ
สารท�าความเย็นไว้ หากจ�าเป็นต้องท�าการวิเคราะห์ในกรณี
ที่จะน�าน�้ามันและสารท�าความเย็นดังกล่าวมาใช้ซ�้า
•  ก่อนที่จะเริ่มด�าเนินการ ต้องเตรียมแหล่งจ่ายไฟให้
เรียบร้อย
1  ควรศึกษารายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ ให้เข้าใจ
2  แยกระบบออกมาต่างหากด้วยไฟฟ้า
3  ก่อนเริ่มด�าเนินการ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่า:
•  มีเครื่องมือส�าหรับใช้กับถังสารท�าความเย็นพร้อมแล้ว
•  มี PPE (อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล) ที่จ�าเป็นทั้งหมด
พร้อมส�าหรับการใช้งาน
•  ควรมีช่างผู้ช�านาญการคอยควบคุมดูแลขั้นตอนการสูบ
ถ่ายสารท�าความเย็น
•  อุปกรณ์ในการสูบถ่ายและถังสารท�าความเย็นต้องได้
มาตรฐาน
4  หากท�าได้ ควรลดระบบท�าความเย็นลง
5  หากไม่สามารถท�าสุญญากาศได้ ควรใช้ท่อรวมเพื่อให้สูบ
ถ่ายสารท�าความเย็นออกจากส่วนต่างๆ ของระบบได้ง่าย
ยิ่งขึ้น
6  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าวางถังสารท�าความเย็นได้ตาม
มาตราส่วนก่อนท�าการสูบถ่าย
7  เปิดระบบการสูบถ่ายตามค�าแนะน�าของผู้ผลิต
8  ห้ามสูบถ่ายสารท�าความเย็นเข้าสู่ถังเก็บมากเกินไป(ไม่ควร
เกิน 80 %)
9  ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รักษาความดันในการท�างาน
ของถังเก็บสารท�าความเย็นไว้ ไม่เกินระดับสูงสุด แม้ว่าจะ
เป็นการรักษาความดันไว้ชั่วคราวก็ตาม
10 หลังจากเติมสารท�าความเย็น ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้
น�าถังเก็บและอุปกรณ์ต่างๆ ออกมาจากพื้นที่ปฏิบัติงาน 
พร้อมทั้งได้ปิดวาล์วตัดตอนทั้งหมดแล้ว
11  ไม่ควรน�าสารท�าความเย็นที่สูบถ่ายออกมาเติมเข้าไปใน
ระบบท�าความเย็นอื่น หากยังไม่ได้ท�าความสะอาดและ
ตรวจสอบสภาพ
 
 
 
 
 (หน่วย : มม.)
รุ่น
X
Y
✴✴
10/13✴✴
602
310
✴✴
18/24✴✴
660
340
 (หน่วย : มม.)
รุ่น
A
B
C
D
✴✴
10/13✴✴
36
190
81
36
✴✴
18/24✴✴
33
110
110
33
รูส�าหรับท่อที่มัดรวมกัน Ø 65 มม.
R-32_IM_DB68-06591E-00.indd   2
1/18/2017   2:22:10 PM