Samsung AR10MRFTGWKNST 설치 가이드

다운로드
페이지 2
ขั้นตอนที่ 2.5 ส่วนประกอบต่างๆ: การ
เปลี่ยนทิศทางของท่อระบายน�้าทิ้ง 
เทนำตามทิศทางของลูกศร
<ลักษณะด้านหน้า>
<ลักษณะด้านข้าง>
ทิศทางของนำทีระบายทิง
ช่องระบายของถาดนำทิง
จุกยาง
้ ้
  ระวัง
•  ตรวจสอบว่าชุดปรับอากาศควรอยู่ในต�าแหน่งตั้งตรงเมื่อ
เทน�้าลงไปเพื่อตรวจสอบหารอยรั่ว ตรวจสอบไม่ให้น�้าล้น
ออกมาเปียกชิ้นส่วนไฟฟ้า  
ขั้นตอนที่ 2.6  การติดตั้งและการต่อท่อ
ส�าหรับติดตั้งเข้ากับท่อสารท�าความเย็น 
(ท่อส�าหรับติดตั้ง)
ใช้วิธีการต่อแบบปลายบานในการต่อชุดปรับอากาศเข้ากับ
ชุดระบายความร้อนด้วยท่อทองแดงซึ่งสามารถจัดหาได้ ใน
พื้นที่การด�าเนินงาน ใช้เฉพาะท่อส�าหรับการท�าความเย็น
ชนิดไร้ตะเข็บ หุ้มด้วยฉนวนกันไฟฟ้าเท่านั้น (ชนิด Cu DHP 
ตาม ISO1337) ผิวท่อไม่ทาน�้ามัน/จารบี และเนื้อท่อไม่ผสม
ออกซิเจนเหมาะส�าหรับแรงดันขณะเครื่องท�างานอย่างน้อย
ที่สุด 4,200 kPa และเหมาะส�าหรับแรงดันแตกระเบิดอย่าง
น้อยที่สุด 20,700 kPa ไม่ว่ากรณีใดๆ ก็ตามจะต้องใช้ท่อ
ทองแดงที่สะอาด 
ท่อทองแดงที่ใช้ส่งผ่านสารท�าความเย็นมีขนาดต่างกัน 2 
ขนาด ดังต่อไปนี้: 
•  ท่อขนาดเล็กใช้ส�าหรับสารท�าความเย็นสถานะของเหลว 
•  ท่อขนาดใหญ่ส�าหรับสารท�าความเย็นสถานะไอ 
ที่ชุดปรับอากาศจะมีการต่อท่อสารท�าความเย็นสถานะ
ของเหลวซึ่งมีขนาดสั้นและท่อสารท�าความเย็นสถานะไอซึ่งมี
ขนาดสั้นไว้แล้ว วิธีการต่อท่อน�้ายาท�าความเย็นมีหลายวิธี ขึ้น
อยู่กับการเลือกทางเดินของแต่ละท่อ โดยอ้างอิงต�าแหน่งการ
หันหน้าชุดปรับอากาศเข้าผนัง
ซ้าย
ด้านล่าง
ขวา
ขวาหลังหรือซ้ายหลัง
<ลักษณะด้านข้าง>
<ลักษณะด้านหน้า>
1  ตัดรอยที่เหมาะสม (A, B, C) ที่ด้านหลังของชุดปรับอากาศ 
นอกเสียจากคุณต่อท่อโดยตรงจากด้านหลัง
2  ตัดแต่งรอยตัดให้เรียบร้อย 
3  ถอดฝาปิดปลายท่อแล้วท�าการต่อท่อเข้ากับท่อที่หุ้ม
ฉนวนทีละชุด โดยท�าการขันน็อตด้วยมือก่อน แล้วจึงใช้
ประแจทอร์คขันตามตารางค่าทอร์ค: 
ขนาดท่อด้านนอก (มม.)
ค่าทอร์ค (N•m)
ค่าทอร์ค (kgf•cm)
ø 6.35
14 ถึง 18
140 ถึง 180
ø 9.52
34 ถึง 42
350 ถึง 430
ø 12.70
49 ถึง 61
500 ถึง 620
ø 15.88
68 ถึง 82
690 ถึง 830
  หมายเหตุ
•  ถ้าต้องการเพิ่มหรือลดความยาวท่อ ขั้นตอนที่ 2.7 การ
ลดหรือการเพิ่มความยาวท่อ สารท�าความเย็น (ท่อ
ส�าหรับติดตั้ง) 
4  ตัดโฟมฉนวนส่วนที่เกินออกมา 
5  ถ้าจ�าเป็นต้องดัดท่อบริเวณด้านหลังของชุดปรับอากาศ 
ก่อนที่จะเดินท่อออกไปทางช่องที่เลือกไว้ โดย
•  ท่อต้องไม่ยื่นออกมาจากด้านล่างของชุดปรับอากาศ 
•  รัศมีในการดัดท่อต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 100 มม. 
6  เดินท่อทะลุผ่านผนังที่เจาะรูไว้ 
  หมายเหตุ
•  ระบบท่อต้องหุ้มด้วยท่อฉนวนและยึดอย่างถาวรใน
ต�าแหน่งที่ทดสอบแล้วว่าไม่มีการรั่วของก๊าซ ดูรายละเอียด
เพิ่มเติมที่  ขั้นตอนที่ 4.1 การตรวจสอบรอยรั่ว
  ระวัง
•  การขันวาล์วควรใช้ค่าทอร์คตามที่ได้ก�าหนดไว้ หากขันวาล์ว
แน่นเกินไปอาจท�าให้แตกร้าวและเป็นสาเหตุของน�้ายารั่ว 
•  อย่าปิดหรือคลุมจุดต่อท่อ จุดต่อท่อสารท�าความเย็น
ทั้งหมดต้องเข้าถึงและซ่อมบ�ารุงรักษาได้ง่าย
ขั้นตอนที่ 2.7  การลดหรือการเพิ่มความ
ยาวท่อสารท�าความเย็น (ท่อส�าหรับติด
ตั้ง)
เครืองตัดท่อ
ท่อ
90°
เบียว
ไม่เรียบ
เป็นเสียน
R 0.4 ถึง 0.8
90°±2°
45°±2°
L
D
D
A
การบานท่อ
ท่อ
(หน่วย: มม.)
ขนาดท่อด้านนอก (D)
ลึก (A)
ขนาดการบานท่อ
ø 6.35
1.3
8.7 ถึง 9.1
ø 9.52
1.8
12.8 ถึง 13.2
ø 12.70
2.0
16.2 ถึง 16.6
ø 15.88
2.2
19.3 ถึง 19.7
ท่อเชือมต่อ
นอตข้อต่อ
ท่อของชุดปรับอากาศ
  ระวัง
•  หากต้องการให้ท่อยาวกว่าที่ก�าหนดไว้ตามรหัสและ
มาตรฐานท่อ จะต้องเพิ่มสารท�าความเย็นเข้าไปในท่อด้วย มิ
ฉะนั้นชุดปรับอากาศอาจหยุดท�างาน 
•  เพื่อป้องกันไม่ให้แก๊สรั่วออก ให้ก�าจัดเสี้ยนที่ขอบตัดของ
ท่อออกให้หมดโดยใช้เครื่องมือคว้านท่อทองแดง
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันตำ>
ถูกต้อง
<น็อตข้อต่อ>
เอียง
ร้าว
ความหนาไม่
สมำเสมอ
ผิวด้านหน้าชำรุด
  หมายเหตุ
•  แรงบิดมากเกินไปสามารถก่อให้เกิดแก๊สรั่วได้ ในกรณีที่
บัดกรีท่อ จะต้องเป่าแก๊สไนโตรเจนเข้าไปในท่อ ข้อต่อจะ
ต้องสามารถเข้าถึงและซ่อมบ�ารุงได้
  ระวัง
•  ขันน็อตข้อต่อให้แน่นด้วยค่าทอร์คตามที่ก�าหนด หากขัน
น็อตข้อต่อแน่นเกินไป น็อตข้อต่ออาจแตกและท�าให้แก๊ส
สารท�าความเย็นรั่วได้
ขั้นตอนที่ 2.8  การติดแผ่นติดตั้ง  
คุณสามารถติดตั้งชุดปรับอากาศเข้ากับผนัง กรอบหน้าต่าง 
หรือแผ่นยิปซัมก็ได้ 
  ค�าเตือน
•  ตรวจสอบว่า ผนัง กรอบหน้าต่าง หรือแผ่นยิปซัมสามารถ
รองรับน�้าหนักของชุดปรับอากาศได้ หากติดตั้งชุดปรับ
อากาศในสถานที่ซึ่งมั่นคงไม่พอต่อการรองรับน�้าหนัก ชุด
ปรับอากาศอาจตกลงมาและท�าให้บาดเจ็บได้
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับผนัง
ยึดแผ่นติดตั้งเข้ากับผนังโดยต้องค�านึงถึงน�้าหนักของชุด
ปรับอากาศด้วย
B
A
D
C
สลักพลาสติก
กำแพง
20 มม.
 (หน่วย : มม.)
รุ่น
A
B
C
D
✴✴
10/13✴✴
27
44
133
27
✴✴
18/24✴✴
37
76
163
37
รูส�าหรับท่อที่มัดรวมกัน Ø 65 มม.
  หมายเหตุ
•  หากคุณยึดแผ่นติดตั้งเข้ากับผนังคอนกรีตโดยใช้
พลาสติก ให้แน่ใจว่าช่องว่างระหว่างผนังกับแผ่นติดตั้ง
ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากพลาสติกที่ยื่นออกมานั้น มีขนาดน้อย
กว่า 20 มม. 
 
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับกรอบหน้าต่าง
1  ให้ก�าหนดต�าแหน่งของแผ่นไม้ตั้งตรงที่จะติดเข้ากับกรอบ
หน้าต่าง 
2  ติดตั้งแผ่นไม้ที่กรอบหน้าต่าง ให้มีน�้าหนักที่เหมาะสมกับ
ชุดปรับอากาศ 
3  ติดแผ่นติดตั้งเข้ากับแผ่นไม้แล้วใช้ตะปูขัน
เมื่อติดชุดปรับอากาศเข้ากับแผ่นยิปซัม
1  หาต�าแหน่งของสลักเกลียวโดยใช้อุปกรณ์ส�าหรับค้นหา
สลักเกลียว 
2  ยึดที่แขวนแผ่นติดตั้งเข้ากับสลักเกลียวสองตัว
  ระวัง
•  หากติดชุดปรับอากาศบนแผ่นยิปซัม ให้ ใช้สลักสมอที่
ก�าหนดไว้ ในต�าแหน่งอ้างอิงเท่านั้น มิฉะนั้น เมื่อเวลา
ผ่านไป แผ่นยิปซัมรอบๆ ข้อต่ออาจแตก และท�าให้สกรู
หลวมและหลุดออกมาได้ ซึ่งอาจท�าให้ร่างกายบาดเจ็บหรือ
อุปกรณ์ช�ารุดเสียหายได้ 
•  ถ้ามีสลักเกลียวไม่มีหัวน้อยกว่าสองตัว หรือถ้าระยะห่าง
ระหว่างสลักเกลียวไม่มีหัวไม่พอดีกับที่แขวนแผ่นติดตั้ง ให้
ค้นหาจุดอื่นๆ ด้วย 
•  ยึดแผ่นติดตั้งโดยไม่ให้ลาดเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ขนาดท่อด้านนอก (มม.) ค่าทอร์ค (N•m) ค่าทอร์ค (kgf•cm)
ø 6.35
14 ถึง 18
140 ถึง 180
ø 9.52
34 ถึง 42
350 ถึง 430
ø 12.70
49 ถึง 61
500 ถึง 620
ø 15.88
68 ถึง 82
690 ถึง 830
การติดตั้งชุดระบายความ
ร้อน
ขั้นตอนที่ 3.1  การติดชุดระบายความร้อน
X
Y
ขายาง
1  วางชุดระบายความร้อนโดยเอาหัวลงตามที่แสดงไว้ เพื่อ
ช่วยให้ระบายอากาศออกจากชุดระบายความร้อนได้อย่าง
เหมาะสม 
2  ใช้สลักสมอยึดชุดระบายความร้อนในแนวระดับเข้ากับที่
รองรับที่เหมาะสม
  หมายเหตุ
•  ติดขายางให้แน่นเพื่อป้องกันการเกิดเสียงและการสั่น
สะเทือน
•  หากชุดระบายความร้อนติดตั้งในสถานที่เปิดรับลมแรง ให้
ติดตั้งแผ่นป้องกันรอบชุดระบายความร้อนเพื่อให้พัดลม
สามารถท�างานได้อย่างถูกต้อง
ส่วนประกอบต่างๆ: ติดชุดระบายความร้อนเข้ากับ
ผนังด้วยชั้นวาง
ยางจะช่วยลดแรงสันสะเทือนทีชันวางส่งไปยังกำแพง 
(ไม่มีมาให้)
ยางจะช่วยลดแรงสันสะเทือนทีชุดระบายความร้อนส่งไปยังชันวาง 
(ไม่มีมาให้)
  หมายเหตุ
•  ให้แน่ใจว่าผนังจะสามารถใช้แขวนน�้าหนักของชั้นวางและ
ชุดระบายความร้อนได้
•  ติดตั้งชั้นวางให้ ใกล้กับเสามากที่สุดเท่าที่จะมากได้
ขั้นตอนที่ 3.2  การต่อสายไฟ และท่อสาร
ท�าความเย็น
N(1) 1
N(1)
1
2
  ระวัง
•  ควรใช้ห่วงล็อกติดสายไฟและสายรับสัญญาณ 
กล่องควมคุม
ถอดสกรูฝาครอบกล่องควบคุม
ออก
ถอดฝาปิดช่องเติมแก๊สและช่อง
เติมของเหลวออก
สำหรับต่อท่อสารทำความเย็น
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันตำ>
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
ต่อท่อสารทำความเย็นทีมีสถานะ
เป็นแก๊สและของเหลว
ขั้นตอนที่ 3.3  การไล่อากาศ
ในชุดระบายความร้อนจะบรรจุสารท�าความเย็น R-22 ไว้
เพียงพอ ควรไล่อากาศในชุดปรับอากาศและในท่อออก ถ้า
อากาศยังเหลืออยู่ในท่อสารท�าความเย็น จะมีผลกระทบต่อ
คอมเพรสเซอร์ได้ อาจท�าให้ความสามารถในการท�าความเย็น
ลดลง และเครื่องท�างานผิดปกติ ให้ ใช้ปั๊มสุญญากาศดังแสดง
ในภาพ 
  ระวัง
•  เมื่อติดตั้ง ให้แน่ใจว่าไม่มีการรั่ว เมื่อบรรจุสารท�าความเย็น
กลับคืน ให้ต่อสายดินคอมเพรสเซอร์ก่อนแล้วจึงถอดท่อ
ที่เชื่อมต่อออก หากไม่ได้ต่อท่อสารท�าความเย็นอย่างถูก
ต้องและคอมเพรสเซอร์ท�างานโดยที่วาล์วเปิด-ปิด ยังเปิด
อยู่ ท่อจะดูดอากาศเข้า เป็นเหตุให้แรงดันภายในของวงจร
สารท�าความเย็นสูงผิดปกติ ซึ่งอาจก่อให้เกิดการระเบิดและ
การบาดเจ็บได้
1  ปล่อยให้เครื่องเข้าสู่โหมดสแตนด์บาย
  ค�าเตือน
•  อย่าปิดเครื่องเด็ดขาด เนื่องจากเป็นสิ่งจ�าเป็นในการ
ท�าให้เกิดสุญญากาศที่ดีกว่า (ต�าแหน่ง เปิด เต็มที่ของ
วาล์วลดแรงดันแบบอิเล็กทรอนิกส์ EEV) 
2  ต่อสายส�าหรับบรรจุสารท�าความเย็นของด้านแรงดันต�่าของ
ชุดเกจวัดแรงดันสารท�าความเย็นเข้ากับช่องเติมแก๊ส ดัง
แสดงในภาพ 
3
4
15 นาที
ปัมสุญญากาศ
(ป้องกันการไหลย้อนกลับ)
ช่องเติมของเหลว <ความดันตำ>
ช่องเติมของเหลว <ความดันสูง>
วาล์ว
5
3  เปิดวาล์วด้านแรงดันต�่าของชุดเกจวัดแรงดันสารท�าความ
เย็นด้วยการหมุนทวนเข็มนาฬิกา 
4  ไล่อากาศในท่อที่ต่ออยู่ออกโดยใช้ปั๊มสุญญากาศประมาณ 
15 นาที 
•  ให้แน่ใจว่าเกจวัดแรงดันแสดงค่า -0.1 MPa (-76 cmHg, 
5 torr) หลังเวลาผ่านไปประมาณ 10 นาที ตอนนี้ส�าคัญ
มากในการหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดแก๊สรั่ว 
•  ปิดวาล์วด้านความดันต�่าของเกจวัดความดันโดยหมุน
ตามเข็มนาฬิกา 
•  ปิดปั๊มสุญญากาศ 
•  ใช้เวลาตรวจสอบ 2 นาที เพื่อดูว่าแรงดันมีการ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่ 
•  ถอดสายของด้านแรงดันต�่าของชุดเกจวัดแรงดันสาร
ท�าความเย็นออก 
5  ตั้งจุกวาล์วของช่องเติมของเหลวและแก๊สไปที่ต�าแหน่งเปิด 
ขั้นตอนที่ 3.4  การเติมสารท�าความเย็น
หากใช้ท่อยาวกว่าความยาวที่ก�าหนดตามรหัสและมาตรฐาน
ท่อ จะต้องเติมสารท�าความเย็น R-410A ปริมาณ 15 กรัม ต่อ
ความยาวที่เพิ่มขึ้นหนึ่งเมตร หากใช้ท่อสั้นกว่าความยาวที่
ก�าหนดไว้ตามรหัสและมาตรฐานท่อ เวลาในการไล่อากาศจะ
เท่ากับปกติ โปรดดูรายละเอียดเพิ่มเติมตามคู่มือการใช้งาน  
  ระวัง
•  อากาศที่เหลืออยู่ในวงจรการท�าความเย็น ซึ่งมีความชื้นนั้น 
อาจก่อให้เกิดการท�างานผิดปกติในคอมเพรสเซอร์ได้ 
•  ให้ติดต่อศูนย์บริการหรือตัวแทนการติดตั้งมืออาชีพ
ส�าหรับการติดตั้งเครื่องเสมอ 
R-410A คือ สารท�าความเย็นประเภทผสม เป็นสารที่จ�าเป็นต้อง
เติมภายใต้สภาวะของเหลว เมื่อเติมสารท�าความเย็นที่อยู่ในถัง
บรรจุสารท�าความเย็นเข้าไปในอุปกรณ์ ให้ท�าตามค�าแนะน�า
ด้านล่าง 
ก่อนที่จะเติมสารท�าความเย็นเข้าไป ให้ตรวจสอบว่าถังบรรจุ
สารท�าความเย็นมีท่อดูดหรือไม่ วิธีการเติมสารท�าความเย็น
มี 2 วิธี คือ 
ท่อดูด
เติมสารทำความเย็นโดยวาง
ถังบรรจุตังขึน
เติมสารทำความเย็นโดยควำ
ถังบรรจุลง
<ถังบรรจุทีมีท่อดูด>
<ถังบรรจุทีไม่มีท่อดูด>
้ ้
  หมายเหตุ
•  หากเติมสารท�าความเย็น R-410A เข้าไปขณะที่ยังเป็น
แก๊ส องค์ประกอบของสารท�าความเย็นที่เติมเข้าไปนั้นจะ
เปลี่ยนแปลง และคุณลักษณะของอุปกรณ์จะแตกต่างกัน 
 (หน่วย : มม.)
รุ่น
X
Y
✴✴
10/13✴✴
602
310
✴✴
18/24✴✴
660
340
•  ในระหว่างท�าการตรวจวัดปริมาณสารท�าความเย็นที่เติม
เข้าไป ให้ ใช้เครื่องชั่งน�้าหนักแบบอิเล็กทรอนิกส์ หากถัง
บรรจุไม่มีท่อดูด ให้คว�่าถังบรรจุลง 
การตรวจสอบการติดตั้ง
ขั้นตอนที่ 4.1  การตรวจสอบรอยรั่ว
1  ก่อนที่จะตรวจสอบการรั่วไหล โปรดใช้ประแจวัดแรงบิด 
(ประแจปอนด์) ปิดฝาของวาล์วเปิด-ปิด (ใช้แรงบิดในการ
ขันส�าหรับเส้นผ่านศูนย์กลางแต่ละขนาด และขันฝาปิดให้
แน่นเพื่อป้องกันการรั่วไหล)
แรงบิดสำหรับฝาปิด 
(ดูได้จากตาราง)
แกนหมุน
แกนเติม
R-22: เกลียวของสกรู - 7/16-2OUNF
R-410A: เกลียวของสกรู -1/2-2OUNF
แรงบิดสำหรับฝาปิดช่องเติม (ดูได้จากตาราง)
2  ให้ ใส่ก๊าซเฉื่อยในท่อที่เชื่อมไปยังชุดปรับอากาศและชุด
ระบายความร้อน 
3  ใช้ฟองสบู่หรือของเหลวเพื่อตรวจหารอยรั่วที่ชิ้นส่วนเชื่อม
ต่อของชุดปรับอากาศและชุดระบายความร้อน  
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
อุปกรณ์ทดสอบสำหรับ
ชุดปรับอากาศ
ขั้นตอนที่ 4.2 การใช้ โหมด Smart Install
1  ตรวจสอบให้เครื่องปรับอากาศอยู่ในสถานะสแตนด์บาย 
2  กดปุ่ม   (Power),   (Mode), และ   (SET) บน
รีโมทคอนโทรลพร้อมกันและกดค้างไว้ประมาณ 4 วินาที 
3  รอจนกว่าโหมด Smart Install จะติดตั้งส�าเร็จหรือล้มเหลว
ในการติดตั้ง โดยจะใช้เวลาประมาณ 7 ถึง 13 นาที
•  ขณะที่โหมด Smart Install ก�าลังแสดงความคืบหน้าใน
การติดตั้ง:
ประเภท
หน้าจอแสดงผลเป็น 
หน้าจอแสดงผลแบบ LED
ไฟแสดง
สถานะ
ของชุด
ปรับ
อากาศ
LED1
LED2
LED3
การแสดงความคืบ
หน้าในการติดตั้ง
จะแสดงเป็นตัวเลข
ระหว่าง 0 ถึง 99  โดย
แสดงที่หน้าจอแส
ดงผลของชุดปรับ
อากาศ
ไฟ LEDs บนชุดปรับอากาศ
กะพริบตามล�าดับ จากนั้น
ไฟ LEDs ทั้งหมดจะกะพริบ
พร้อมกัน ซึ่งลักษณะการ
กะพริบดังกล่าวจะเกิด
ซ�้าไปมา
•  เมื่อการติดตั้งโหมด Smart Install ส�าเร็จ  : โหมด Smart 
Install จะสิ้นสุดการติดตั้งพร้อมเสียงดังเตือน และ
เครื่องปรับอากาศจะกลับเข้าสู่สถานะปกติ 
•  เมื่อการติดตั้งโหมด Smart Install ล้มเหลว : ข้อความ
แสดงความผิดปกติจะแสดงบนหน้าจอแสดงผลของ
ชุดปรับอากาศ และโหมด Smart Install จะจบการ
ท�างาน
  หมายเหตุ
•  โหมด Smart Install จะท�างานกับรีโมทคอนโทรลที่ให้มา
ด้วยเท่านั้น
•  ในระหว่างที่โหมด Smart install ก�าลังติดตั้งอยู่ 
รีโมทคอนโทรลจะใช้งานไม่ได้
ขั้นตอนที่ 4.3  การตรวจสอบขั้นสุดท้าย
และการทดสอบการท�างาน
1  ตรวจสอบการติดตั้งตามหัวข้อดังต่อไปนี้: 
•  ความมั่นคงแข็งแรงของสถานที่ติดตั้ง 
•  จุดต่อท่อเพื่อตรวจสอบการรั่วของสารท�าความเย็น 
•  การต่อสายไฟ 
•  ฉนวนกันความร้อนที่ใช้หุ้มท่อสารท�าความเย็น 
•  การต่อท่อระบายน�้าทิ้ง 
•  การต่อสายดิน 
•  การท�างานของเครื่องปรับอากาศ (ตามขั้นตอนข้างล่างนี้) 
2  กดปุ่ม   (Power) บนรีโมทคอนโทรลเพื่อตรวจสอบดังต่อ
ไปนี้: 
•  ไฟแสดงสถานะที่ชุดปรับอากาศติดสว่าง 
•  ใบพัดปรับทิศทางลมของชุดปรับอากาศหมุนเปิด พัดลม
เริ่มท�างาน 
3  กดปุ่ม   (Mode) เลือกโหมด Cool จากนั้นให้ท�าตามขั้นตอน
ย่อยดังต่อไปนี้: 
•  ในโหมด Cool ให้กดปุ่มอุณหภูมิเพื่อตั้งค่าอุณหภูมิที่ 16 °C 
•  ตรวจสอบว่าหลังเวลาผ่านไป 3 ถึง 5 นาที ชุดระบายความ
ร้อนเริ่มท�างาน และมีลมเย็นเป่าออกมาหรือไม่ 
•  หลังจากเวลาผ่านไป 12 ให้ตรวจสอบสภาพอากาศที่
เปลี่ยนไปจากชุดปรับอากาศ 
4  กดปุ่ม   (Air swing) เพื่อตรวจสอบว่าใบพsัดปรับทิศทางลม
ท�างานถูกต้องหรือไม่ 
5  กดปุ่ม   (Power) เพื่อหยุดการทดสอบการท�างาน
การสูบถ่ายสารท�าความเย็น
การด�าเนินการที่มีจุดประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมสารท�าความเย็นใน
ระบบทั้งหมดของชุดระบายอากาศ การด�าเนินการนี้ต้องให้แล้ว
เสร็จก่อนถอดท่อสารท�าความเย็นออก ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการ
สูญเสียสารท�าความเย็นสู่บรรยากาศ 
1  ปิดวาล์วของเหลวด้วยประแจหกเหลี่ยม 
2  เปิดเครื่องปรับอากาศในขณะท�าความเย็นซึ่งพัดลมก�าลังพัดด้วย
ความเร็วสูง (คอมเพรสเซอร์จะเริ่มท�างานทันที โดยมีเงื่อนไขว่า
เวลาต้องผ่านไปแล้ว 3 นาที นับตั้งแต่หยุดท�างานครั้งล่าสุด) 
3  หลังจากท�างานได้ 2 นาที ให้ปิดวาล์วด้านดูดด้วยประแจตัวเดียวกัน 
4  ปิดเครื่องปรับอากาศและปิดสวิตช์แหล่งจ่ายไฟ 
5  ถอดท่อออก หลังจากถอดแล้ว ควรป้องกันฝุ่นละอองไม่ให้จับ
เกาะวาล์วและปลายท่อ 
  ระวัง
•  คอมเพรสเซอร์อาจเกิดความเสียหายได้ หากท�างานด้วยแรง
ดันด้านดูดเป็นลบ
การสูบถ่ายสารท�าความเย็นเข้าระบบเพื่อเคลื่อนย้ายเครื่อง
ปรับอากาศ
1  เปิดเครื่องปรับอากาศและเลือกโหมด Fast 
2  ปล่อยให้คอมเพรสเซอร์ท�างานมากกว่า 5 นาที ถ้า
คอมเพรสเซอร์ท�างานน้อยกว่า 5 นาที เนื่องจากระบบป้องกัน 
ให้รอประมาณ 2 นาที แล้วท�าตามขั้นตอนต่อไป
3  เปิดฝาปิดวาล์วด้านความดันสูงและความดันต�่า 
4  ใช้ประแจ L ปิดวาล์วด้านความดันสูง 
5  หลังจากคอมเพรสเซอร์ท�างานประมาณ 1 นาที ให้เปิดวาล์ว
ด้านความดันต�่า 
6  ปิดเครื่องปรับอากาศโดยกดปุ่ม   (Power) บนชุดปรับ
อากาศหรือบนรีโมทคอนโทรล 
7  ถอดท่อน�้ายาออก 
1
2
ช่องเติมแก๊ส
<ความดันตำ>
ช่องเติมของเหลว
<ความดันสูง>
1 นาที
ปิด
ขนาดท่อด้านนอก 
(มม.)
แรงบิด
ฝาปิด
ฝาปิดช่องเติม
ø 6.35
20 ถึง 25
10 ถึง 12
ø 9.52
20 ถึง 25
ø 12.70
25 ถึง 30
ø 15.88
30 ถึง 35
มากกว่า ø 19.05
35 ถึง 40
 ( 1 N•m = 10 kgf•cm )
เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้น ควรอ้างอิงวิธีการแก้ ไขปัญหาเบื้องต้นตามตารางดังต่อไปนี้ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแก้ ไข
ปัญหาความผิดปกติเบื้องต้น โปรดดูที่คู่มือการบริการ
ไฟแสดงสถานะความผิดปกติ
ความผิดปกติ
การแก้ ไขปัญหาเบื้องต้นโดยช่าง
ผู้ติดตั้ง
หน้าจอแสดงผลเป็น 
หน้าจอแสดงผลแบบ LED
LED 1
LED 2
LED 3
 / 
ความผิดปกติในการ
สื่อสารระหว่างชุดปรับ
อากาศและชุดระบาย
ความร้อน
•  ตรวจสอบสายการเชื่อมต่อ
ระหว่างชุดปรับอากาศและ
ชุดระบายความร้อน (ตรวจ
สอบว่าสายไฟและสายรับ
สัญญาณมีการสลับกัน
หรือไม่)
ความผิดปกติที่ตัวจับ
อุณหภูมิ
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
ความผิดปกติที่อุปกรณ์
แลกเปลี่ยนความร้อน
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
ความผิดปกติที่พัดลม
ของชุดปรับอากาศ
•  ตรวจสอบการเสียบสายถูก
ต้องหรือไม่
•  ขจัดสิ่งแปลกปลอมออก
ไป (ในกรณีที่มีสิ่งกีดขวาง
มอเตอร์)
หน้าจอแสดงเป็น 
 และไฟ LEDs 
ทั้งหมดกะพริบ
EEPROM/ความผิดปกติ
ที่ Option
•  รีเซ็ต Options
ความผิดปกติจากสาร
ท�าความเย็นไม่ไหล
•  ตรวจสอบว่าวาล์วเปิด-ปิด 
เปิดอยู่จนสุดหรือไม่
•  ตรวจสอบว่ามีการอุดตันใน
ท่อสารท�าความเย็นที่เชื่อม
ต่อชุดปรับอากาศและชุด
ระบายความร้อนหรือไม่
•  ตรวจสอบการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็น
สารท�าความเย็นไม่เพียง
พอ (ส�าหรับรุ่นอินเวอร์
เตอร์เท่านั้น)
•  ตรวจสอบว่ามีการเติม
ปริมาณสารท�าความเย็นเพิ่ม
เติมเพื่อให้เพียงพอส�าหรับ
ท่อที่มีความยาวกว่าความยาว
ตามรหัสและมาตรฐานท่อที่
ก�าหนดไว้หรือไม่ 
•  ตรวจสอบการรั่วไหลของสาร
ท�าความเย็นระหว่างวาล์วและ
ข้อต่อของท่อ
h
   รูปแบบ LED นี้จะปรากฏเมื่อ
มีความผิดปกติเกิดขึ้นกับชุด
ระบายความร้อน  
h
 
 : ปิด,    : กะพริบ,    : เปิด
✴✴
10/18
✴✴
✴✴
13/24
✴✴
IM_DB68-06591C-00.indd   2
11/4/2016   2:34:46 PM